งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
การประชุม ชี้แจงแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๗ เวลา ๐๙.๓๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ผ่านระบบวีดิทัศน์ทางไกลของกระทรวงมหาดไทย ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี โดย คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) และ

2 เรื่อง การชี้แจงแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
กำหนดการประชุม เรื่อง การชี้แจงแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๗ เวลา ๐๙.๓๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ๐๙.๓๐ - ๐๙.๕๐ น. เปิดการประชุม และกล่าวนโยบายการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๕๗ และทิศทางการพัฒนางานด้านการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ โดย รองเลขาธิการ ก.พ.ร. (นายพงษ์อาจ ตรีกิจวัฒนากุล) กรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ ค.ต.ป. ๐๙.๕๐ - ๑๑.๓๐ น. การชี้แจงภาพรวมแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ • นโยบายและกลไกของ ค.ต.ป. และ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด • เนื้อหาการสอบทานที่ผ่านมา และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ • แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ • การจัดส่งเอกสารหลักฐานรายงานของจังหวัดตามแนวทางการตรวจสอบฯ กำหนด โดย ผศ.ดร.ประวิตร นิลสุวรรณากุล กรรมการ ค.ต.ป. ๑๑.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. ตอบข้อซักถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

3 การชี้แจงภาพรวม แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
โดย ผศ.ดร.ประวิตร นิลสุวรรณากุล กรรมการ ค.ต.ป.

4 หัวข้อบรรยาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ นโยบายและกลไกของ ค.ต.ป. และ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด เนื้อผลการสอบทานที่ผ่านมา และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ การจัดส่งเอกสารหลักฐานรายงานของจังหวัดตามแนวทางการ ตรวจสอบฯ กำหนด

5 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค. ต
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)

6 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค. ต
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) ระเบียบ ค.ต.ป. พ.ศ. ๒๕๔๘ ระเบียบ ค.ต.ป. ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๐ ระเบียบ ค.ต.ป. ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๒

7 ที่มา คณะกรรมการการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ระบบการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน “หมวด ๓ การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ” มติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๔๗ ให้สำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณา จัดวางระบบการตรวจสอบ ภาคราชการใหม่ให้สอดคล้อง กับการพัฒนาระบบราชการ และระบบการบริหารการคลัง ภาครัฐด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ตลอดจนหลักการบริหาร จัดการบ้านเมืองที่ดีตามพระ ราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ กลไกควบคุมภายใน (หน่วยงานกลาง) ผู้ตรวจการแผ่นดิน กลไกควบคุมภายนอก 3 ผู้ตรวจราชการ สนร. คณะ กรรมาธิการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ และประเมินผล ภาคราชการ (ค.ต.ป.) ผู้ตรวจราชการ ผู้ตรวจสอบภายใน ระดับกระทรวง กรม ส.ก.พ.ร. ศาล ปกครอง สงป. ส.ก.พ. สศช. ปปท. กรมบัญชีกลาง กลไกควบคุมภายใน (ภายในองค์การ) คตส. ปปช. ปปง. คณะรัฐมนตรี กลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการของ ค.ต.ป. คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เกี่ยวกับการกำหนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ รายงาน ผลการตรวจสอบ และประเมินผล ภาคราชการ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มจังหวัด คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวง คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวง คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเฉพาะกิจเกี่ยวกับการ กำหนดแนวทาง วิธีการการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลของ หน่วยงานกลางที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๔๘,๕๐,๕๓ ส่วนราชการมีการกำกับดูแลตนเองที่ดี สร้างความน่าเชื่อถือและความมั่นใจ แก่สาธารณชนต่อผลการดำเนินงานของ ส่วนราชการว่ามีการกำกับดูแลอย่างรอบคอบและมีประสิทธิภาพ ยกระดับขีดสมรรถนะ การเรียนรู้ และศักยภาพการพัฒนาอย่างยั่งยืนของส่วนราชการ

8 องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
( ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ. ๒๕๔๘ และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๒ ) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.* ๑๐. ๑๑. รัฐมนตรีซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน อธิบดีกรมบัญชีกลาง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งได้รับการสรรหาจำนวนไม่น้อยกว่าเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิบคน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการที่เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการมอบหมาย ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

9 อำนาจหน้าที่ของ ค.ต.ป. อำนาจหน้าที่ของ ค.ต.ป. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
วางนโยบาย แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ และประเด็นหัวข้อการ ตรวจสอบและประเมินผล ให้ความเห็นชอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลของคณะอนุกรรมการ และ หน่วยงานกลางที่มีภารกิจด้านการตรวจสอบฯ ส่งเสริม ผลักดัน สอบทาน และเสนอแนะมาตรการให้ส่วนราชการดำเนินการ เป็นไปวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ และหลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี อำนาจหน้าที่ของ ค.ต.ป. จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานพร้อมให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการตรวจสอบ และประเมินผล ต่อ นายกรัฐมนตรี และ ครม. อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง ตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ. ๒๕๔๘ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของ ค.ต.ป. และ มติครม. ที่เกี่ยวข้อง และรายงานต่อ นายกรัฐมนตรี และ ครม. ทราบเป็นระยะ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ตามที่ ค.ต.ป. มอบหมาย ปฏิบัติการอื่นตามที่ ครม. มอบหมาย

10 นโยบาย และกลไก ค.ต.ป.

11 นโยบายการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
เสริมสร้างความเข็มแข็งให้ส่วนราชการ โดยเฉพาะให้มีระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี ผลักดันการบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่งเสริมการบูรณาการงานด้านการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เช่น ระบบข้อมูล การติดตามและประเมินผล เป็นต้น สร้างความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจแก่สาธารณชน ต่อการดำเนินงานของส่วนราชการ

12 กลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
ครม. ค.ต.ป. ประจำกระทรวง (๒๐ คณะ) รมต. อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด (๔ คณะ) กลุ่มกระทรวง เกี่ยวกับการกำหนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบฯ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านความมั่นคง และการต่างประเทศ - ด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดฯ คณะที่ ๑ คณะที่ ๒ คณะที่ ๓ คณะที่ ๔ กระทรวงพลังงาน กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงแรงงาน กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม กระทรวงการคลัง กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการท่องเที่ยวฯ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรฯ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศฯ อ.ค.ต.ป. เฉพาะกิจ เกี่ยวกับการกำหนดแนวทางวิธีการ การบูรณาการฯ จำนวนรวม ๓๐ คณะ 12

13 พื้นที่รับผิดชอบของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ตามคำสั่ง ค.ต.ป. ที่ ๒/๒๕๕๖
อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ (ศ.ปกรณ์ อดุลพันธุ์ เป็นประธาน) รวม ๔ กลุ่ม ๑๗ จังหวัด อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ (รศ.ครรชิต มาลัยวงศ์ เป็นประธาน) รวม ๕ กลุ่ม ๒๐ จังหวัด ๑) ก.ภาคเหนือตอนบน ๑ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ๑) ก.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๑ บึงกาฬ เลย หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี ๒) ก.ภาคเหนือตอนบน ๒ เชียงราย น่าน พะเยา แพร่ ๒) ก.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร ๓) ก.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ๓) ก.ภาคเหนือตอนล่าง ๑ ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ ๔) ก.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๑ ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ๔) ก.ภาคเหนือตอนล่าง ๒ กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ๕) ก.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๒ ยโสธร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ (ผศ. ประวิตร นิลสุวรรณากุล เป็นประธาน) รวม ๔ กลุ่ม ๑๘ จังหวัด อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ (ศ.เกียรติคุณเกษรี ณรงค์เดช เป็นประธาน) รวม ๕ กลุ่ม ๒๑ จังหวัด ๑) ก.ภาคกลางตอนล่าง ๒ เพชรบุรี ประจวบฯ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ๑) ก.ภาคกลางตอนบน ๑ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ๒) ก.ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง สุราษฎร์ธานี ๒) ก.ภาคกลางตอนบน ๒ ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ๓) ก.ภาคใต้ฝั่งอันดามัน กระบี่ ตรัง พังงา ภูเก็ต ระนอง ๓) ก.ภาคกลางตอนกลาง ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว สมุทรปราการ ๔) ก.ภาคใต้ชายแดน นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา สตูล ๔) ก.ภาคกลางตอนล่าง ๑ กาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี ๕) ก.ภาคตะวันออก ชลบุรี จันทบุรี ตราด ระยอง

14 การรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๑๓ (๔) ค.ต.ป. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ ปีละ ๒ ครั้ง รายงานผลการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ รอบประจำปี (๑๒ เดือน) รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ รอบระหว่างปี (๖ เดือน) คณะรัฐมนตรี

15 เนื้อหาการสอบทานที่ผ่านมา และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖

16 เนื้อหาการสอบทานที่ผ่านมา
การสอบทานกรณีปกติ การตรวจราชการ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การตรวจสอบภายใน การปฏิบัติตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ รายงานการเงิน การสอบทานกรณีพิเศษ

17 คณะรัฐมนตรีในการประชุม
เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ รับทราบ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ รายงานประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ เห็นชอบตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเสนอ มติ ความเห็นเพิ่มเติม คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการควรมีการปรับวิธีการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเพิ่มขึ้นใน ๒ มิติ คือ มิติด้านการเงิน โดยมุ่งเน้นการตรวจสอบและประเมินผลด้านประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ความสามารถในการลดต้นทุนและลดความซ้ำซ้อนในการดำเนินการ และความสามารถในการกระตุ้นเศรษฐกิจ และมิติด้านการบริหารจัดการ โดยคำนึงถึงความโปร่งใส ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการ ซึ่งควรกำหนดตัวชี้วัดให้ชัดเจน และใช้เป็นกลไกในการบริหารจัดการ การตรวจสอบและประเมินผลควรพิจารณาขยายไปถึงราชการส่วนท้องถิ่นและควรมีการวางมาตรการในการตรวจสอบที่กระชับมากขึ้น ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ควรมีพื้นฐานความรู้ที่หลากหลายและสามารถตรวจสอบในเชิงลึกได้

18 แผนการดำเนินงาน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖
การดำเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ปรับปรุงแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประเด็นการสอบทานกรณีปกติเป็นสองมิติ คือ มิติด้านบริหารจัดการและมิติด้านการเงิน มิติด้านการบริหารจัดการ ความโปร่งใส P ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการ มิติด้านการเงิน การตรวจสอบและประเมินผลด้านประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ความสามารถในการลดต้นทุนและลดความซ้ำซ้อนในการดำเนินการ ความสามารถในการกระตุ้นเศรษฐกิจ ขยายการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการให้ครอบคลุมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษาและแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง วางแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รับฟังข้อคิดเห็นร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

19 แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗

20 ที่มา ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ข้อ ๔ ได้กำหนดให้การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการจะต้องเป็นไปเพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจแก่สาธารณะได้ถึงประสิทธิผล ความคุ้มค่า ประสิทธิภาพ และคุณภาพของการบริหารงาน ตลอดจนการปรับปรุงขีดสมรรถนะและศักยภาพ การเสริมสร้างการเรียนรู้และการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยการจัดวางระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการที่เพียงพอ เหมาะสม และมีกลไกกำกับดูแลที่น่าเชื่อถือ ข้อ ๑๓ ได้กำหนดให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ในการวางนโยบาย แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการ รวมถึงกำหนดประเด็นหัวข้อการตรวจสอบและประเมินผล ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ค.ต.ป. จัดทำ เพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลคณะต่าง ๆ ใช้เป็นแนวทาง ในการสอบทานผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการและจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ต่อไป แนวทางการตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ เพื่อให้ส่วนราชการและจังหวัดได้ใช้เป็น แนวปฏิบัติ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗

21 ขอบเขตของการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการระหว่างปี (รอบ ๖ เดือน) เป็นการติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานของรอบ ๖ เดือน วิเคราะห์ความก้าวหน้าในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ / จังหวัดในเชิงคุณภาพ วัตถุประสงค์ : ค้นหามูลเหตุของอุปสรรคปัญหาของการปฏิบัติราชการที่เกิดขึ้น และเสนอ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไขหรือการพัฒนาการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อันจะ ส่งผลให้การปฏิบัติราชการของส่วนราชการและจังหวัด ตอนสิ้นปีงบประมาณสามารถบรรลุผล ตามเป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการที่กำหนดไว้ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประจำปี (รอบ ๑๒ เดือน) เป็นการรายงานสรุปผลการสอบทานที่ได้จากผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการและ จังหวัดที่เกิดขึ้นทั้งปีงบประมาณ วิเคราะห์เปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่ได้กับค่าเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้งวิเคราะห์ ผลสัมฤทธิ์จากการดำเนินการ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงที่ตรวจพบว่าการปฏิบัติราชการสามารถบรรลุผลตาม แผนปฏิบัติราชการที่กำหนดไว้หรือไม่

22 แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
การสอบทาน กรณีปกติ การบริหารจัดการ มิติต้าน มิติด้านการเงิน ประเด็นการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ การตรวจราชการ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การตรวจสอบภายใน รายงานการเงิน การสอบทาน กรณีพิเศษ การคัดเลือกโครงการ ของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด โครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์จังหวัด ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ประเทศที่ ค.ต.ป. กำหนด อย่างน้อย ๑ โครงการ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่มีความสำคัญอยู่ในสามอันดับแรก อย่างน้อย ๑ โครงการ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คัดเลือกโครงการที่จะสอบทานกรณีพิเศษตามหลักเกณฑ์ที่ ค.ต.ป. กำหนด และ เสนอรายชื่อโครงการที่จะสอบทานกรณีพิเศษต่อ ค.ต.ป. ภายใน พฤษภาคม ๒๕๕๗

23 การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการบริหารจัดการ การตรวจราชการแบบบูรณาการ
ประเด็นพิจารณาการสอบทาน สอบทานความโปร่งใส ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการบริหารจัดการ สอบทานผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน/โครงการสำคัญ ๆ ในการนำไปสู่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ตามแผนการตรวจราชการ กรม กระทรวง สำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างพอประมาณว่า ข้อมูล เอกสารรายงาน หลักฐาน การปฏิบัติ การรายงานการตรวจราชการมี ความครบถ้วนครอบคลุม น่าเชื่อถือ ข้อเสนอแนะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ให้ข้อเสนอแนะต่อการปฏิบัติงาน เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ผู้จัดส่งข้อมูล /รายงาน (เจ้าหน้าที่ของจังหวัด/ผู้ตรวจรายงาน) รอบ ๖ เดือน (ใช้ข้อมูลของสำนักตรวจราชการ สปน.) แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผู้ตรวจราชการกระทรวง สำนักนายกรัฐมนตรี รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการในพี้นที่ กลุ่มจังหวัดและจังหวัด รอบ ๑๒ เดือน (ใช้ข้อมูลของสำนักตรวจราชการ สปน.) รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจ ราชการกระทรวง สำนักนายกรัฐมนตรี รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจ ราชการประจำปี รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการในพี้นที่กลุ่ม จังหวัดและจังหวัด

24 มิติด้านการบริหารจัดการ ผู้จัดส่งข้อมูล /รายงาน
การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการบริหารจัดการ การตรวจสอบภายใน ประเด็นพิจารณา เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างพอประมาณว่า การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในมีความถูกต้อง เหมาะสม เป็นจริงตามหลักการ มาตรฐาน ระเบียบข้อบังคับและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาของข้อมูลในเอกสารและรายงานฯ ได้จัดทำและปฏิบัติโดยไม่ขัดต่อความถูกต้องเป็นจริง มีความครบถ้วนน่าเชื่อถือ ประเด็นปัญหาและสิ่งที่ตรวจพบโดยผู้ตรวจสอบภายในที่มีความสำคัญและต้องปรับปรุง ได้มีการดำเนินการในเวลาและวิธีเหมาะสมหรือไม่ เพียงใด เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ผู้จัดส่งข้อมูล /รายงาน (เจ้าหน้าที่ของจังหวัด/ผู้ตรวจรายงาน) รอบ ๖ เดือน กฎบัตร (กรณีจัดทำครั้งแรก หรือมีการเปลี่ยนแปลง) แผนการตรวจสอบภายใน แผนการตรวจสอบประจำปีงบประมาณ (แบบ ตภ.มท. ๐๒-๑) รายงานผลการตรวจสอบภายใน ครั้งที่ ๑ (๑ ต.ค.-๓๑ ม.ค.) รายงานผลการตรวจสอบด้านการเงิน การบัญชี การปฏิบัติตาม กฎระเบียบและข้อบังคับ (Financial & Compliance) (แบบ ตภ.มท.๐๕) รายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน(Performance Audit) (แบบ ตภ.มท.๐๖) รายงานผลการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยe-Auctionถ้ามี รอบ ๑๒ เดือน รายงานผลการตรวจสอบภายใน ครั้งที่ ๒(๑ ก.พ. – ๓๑ พ.ค.) , รอบ ๓(๑ มิ.ย. – ๓๐ ก.ย.) รายงานผลการตรวจสอบด้านการเงิน การบัญชี การปฏิบัติ ตามกฎระเบียบและข้อบังคับ (Financial & Compliance) (แบบ ตภ.มท.๐๕) รายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน (Performance Audit) (แบบ ตภ.มท.๐๖) รายงานผลการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยe-Auction ถ้ามี แบบประเมินตนเอง * ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๒๑๖/ว.๒๔๐๗ ลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ เรื่อง แนวทางการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

25 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง
การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการบริหารจัดการ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ประเด็นพิจารณา เพื่อสอบทานถึงความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการที่จัดทำตามข้อ ๖ ของระเบียบคตง.โดยพิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของรายงาน ความน่าเชื่อถือของรายงาน และประสิทธิภาพของ การควบคุมภายใน ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพื่อการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการปฏิบัติงานควบคุมภายในและการบริหารความ เสี่ยงให้เหมาะสม เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ผู้จัดส่งข้อมูล /รายงาน (เจ้าหน้าที่ของจังหวัด/ผู้ตรวจรายงาน) รอบ ๑๒ เดือน รายงานการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงของสำนักงานจังหวัด ดังนี้ แบบ ปอ. ๑ แบบ ปอ. ๒ แบบ ปอ. ๓ และแบบ ปส. รอบ ๖ เดือน รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖) ของสำนักงานจังหวัด

26 การปฏิบัติราชการตามคำรับรอง
การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการบริหารจัดการ การปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ประเด็นพิจารณา เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างพอประมาณว่า ข้อมูล เอกสารหลักฐานและการปฏิบัติตรงตามรายงานผลการปฏิบัติ ราชการโดยไม่ขัดต่อความเป็นจริง และสอดคล้องกับคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยพิจาณาในประเด็น ความครบถ้วนสมบูรณ์ของรายงานผลการปฏิบัติราชการ ความถูกต้องแม่นยำและน่าเชื่อถือของข้อมูลรายงาน ประโยชน์ของการดำเนินงาน และความเหมาะสมของตัวชี้วัด ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพื่อการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ผู้จัดส่งข้อมูล /รายงาน (เจ้าหน้าที่ของจังหวัด/ผู้ตรวจรายงาน) รอบ ๖ เดือน คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด รายงานผลการประเมินตนเองตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ ๖ เดือนของจังหวัด รอบ ๑๒ เดือน รายงานผลการประเมินตนเองตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ ๑๒ เดือนของจัหวัด ด้วยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ยกเว้นให้จังหวัดไม่ต้องจัดทำรายงานผลการประเมิน ตนเองตามคำรับรองฯ รอบ ๖ เดือน ดังนั้น จึงขอให้จังหวัดจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองตามคำรับรองฯ รอบ ๙ เดือนมายัง อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด พร้อมกับรายงานรอบ ๑๒ เดือนแทน

27 ผู้จัดส่งข้อมูล /รายงาน
การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการเงิน รายงานการเงิน ประเด็นพิจารณา เน้นการตรวจสอบและประเมินผลด้านประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ความสามารถในการลดต้นทุน และลดความซ้ำซ้อนในการ ดำเนินการ และความสามารถในการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างพอประมาณว่า เนื้อหาและข้อมูลรายงานการเงิน หรือผลปฏิบัติงานที่แสดงเป็นตัวเลขทางการเงิน ได้จัดทำขึ้นโดยไม่ขัดต่อความถูกต้อง และเป็นไปตามหลักการมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและระเบียบแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง มีความสอดคล้องและสมเหตุสมผลตามผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริงและแผนที่กำหนดไว้ ประเด็นปัญหาสำคัญและต้องปรับปรุงที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำรายงานการเงินและการดำเนินการงานอื่นที่เกี่ยวข้องได้มีการดำเนินการด้วยความถูกต้องและเหมาะสมหรือไม่ เพียงใด เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดทำรายงานการเงิน ตลอดจนการดำเนินงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ผู้จัดส่งข้อมูล /รายงาน (เจ้าหน้าที่ของจังหวัด/ผู้ตรวจรายงาน) รอบ ๑๒ เดือน งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ของจังหวัด (งบประมาณในฐานะที่จังหวัดเป็นเจ้าของงบประมาณ (กรมจังหวัด)) รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) งบการเงิน งบแสดงฐานะทางการเงิน งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ทั้งนี้ ให้ใช้ข้อมูลจากระบบ GFMIS ของช่วงเวลาที่ ๑ - ๑๔ โดยไม่จำเป็นต้องรอผลการตรวจสอบจาก สตง. รอบ ๖ เดือน งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ของจังหวัด (งบประมาณในฐานะที่จังหวัดเป็นเจ้าของงบประมาณ (กรมจังหวัด)) รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เอกสาร หลักฐาน และข้อมูลต่าง ๆ ตามที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดร้องขอ

28 ผู้จัดส่งข้อมูล /รายงาน
การสอบทานกรณีพิเศษ ประเด็นพิจารณา สอบทานประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด และความโปร่งใสในการดำเนินโครงการ พิจารณาถึงความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์จังหวัด และแผนงานโครงการที่สำคัญของ จังหวัดเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการผลักดันและพัฒนาการดำเนินงาน/โครงการของจังหวัดในเชิงนโยบาย เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ผู้จัดส่งข้อมูล /รายงาน (เจ้าหน้าที่ของจังหวัด/ผู้ตรวจรายงาน) รอบ ๖ เดือน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดจะประสานขอข้อมูลโดยตรงกับส่วนราชการเจ้าของแผนงาน/โครงการที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดพิจารณาเลือกสอบทาน ซึ่งจะครอบคลุมข้อมูล ดังนี้ แผนงานโครงการ คำรับรองการปฏิบัติราชการ (ในกรณีที่เป็น ตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ) รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานที่ เสนอหน่วยงานกลาง เช่น รายงานผลการ ปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณต่อสำนัก งบประมาณ รอบ ๑๒ เดือน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดจะประสานขอข้อมูลโดยตรง กับส่วนราชการเจ้าของแผนงาน/โครงการที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดพิจารณาเลือกสอบทาน ซึ่งจะครอบคลุม ข้อมูล ดังนี้ รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานที่เสนอ หน่วยงานกลาง เช่น รายงานผลการปฏิบัติงาน และการใช้จ่ายงบประมาณต่อสำนักงบประมาณ

29 ระยะเวลาการรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ค.ต.ป. รายงานประจำปี รายงานระหว่างปี อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ครม. ๑ เม.ย. ๕๘ กรณีจังหวัด รายงานพร้อมรอบ ๑๒ เดือน หรือตามที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดกำหนด ครั้งที่ ๑ : ๒๘ พ.ย. ๕๗ ครั้งที่ ๒ : ๒๙ ธ.ค. ๕๗ (ควบคุมภายใน ๑๐ ม.ค. ๕๘) ครั้งที่ ๑ : ๓๐ ธ.ค. ๕๗ ครั้งที่ ๒ : ๒๘ ก.พ. ๕๘ ครั้งที่ ๑ (สามประเด็น) การเงิน / คำรับรองฯ / โครงการสำคัญภายใต้แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัดฯ ครั้งที่ ๒ (สี่ประเด็น) ตรวจราชการ / ตรวจสอบภายใน / ควบคุมภายใน /โครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ

30 การจัดส่งเอกสารหลักฐานรายงานของจังหวัด
ตามแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกำหนด

31 ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (รอบ ๖ เดือน) สำหรับจังหวัด
ระยะเวลาการจัดส่งรายงานการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (รอบ ๖ เดือน) สำหรับจังหวัด เฉพาะในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ให้จังหวัดจัดทำรายงานต่าง ๆ ของรอบ ๖ เดือน และรวบรวมจัดส่งมาพร้อมกับรายงานรอบ ๑๒ เดือน หรือตามที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดแต่ละคณะกำหนด ส่วนราชการประจำจังหวัด - รายงานควบคุมภายในฯ ค.ต.ป. อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ค.ร.ม. สำนักงานจังหวัด รายงานผลการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ - กรณีปกติ - กรณีพิเศษ - รายงานการตรวจราชการ - รายงานตรวจสอบภายใน - รายงานคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ - รายงานการเงิน ๒๘ ก.พ. ๒๕๕๘ ๑ เม.ย. ๒๕๕๘

32 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (รอบ ๑๒ เดือน) สำหรับจังหวัด
ระยะเวลาการจัดส่งรายงานการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (รอบ ๑๒ เดือน) สำหรับจังหวัด อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ค.ต.ป. ค.ร.ม. รายงานผลการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ - กรณีปกติ - กรณีพิเศษ ๓๐ ธ.ค. ๒๕๕๗ ๒๘ ก.พ. ๒๕๕๘ ๑ เม.ย. ๒๕๕๘ ๑๕ ม.ค. ๒๕๕๘ - รายงานคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ - รายงานการเงิน - กรณีพิเศษ (โครงการสำคัญภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด) ก.น.จ. - รายงานการตรวจราชการ - รายงานตรวจสอบภายใน - รายงานควบคุมภายในฯ - กรณีพิเศษ (โครงการที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ประเทศ) ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๘ ส่วนราชการประจำจังหวัด ๒๙ ธ.ค. ๒๕๕๗ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๗ ผู้ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย (จัดทำและรวบรวม) สำนักงานจังหวัด

33 ผลการสอบทานที่ผ่านมา

34 ผลการสอบทานที่ผ่านมา (ส่วนที่เกี่ยวข้องกับจังหวัด)
กรณีปกติ ตรวจสอบภายใน ข้อค้นพบ หน่วยงานที่พบปัญหา แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ ทักษะความชำนาญประสบการณ์ในการตรวจสอบขาดความรู้ ความเข้าใจในระเบียบและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ก.สาธารณสุข จังหวัดส่วนใหญ่ ควรมีการจัดฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการตรวจสอบภายในให้กับเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ตรวจราชการกระทรวง/กรม ค.ต.ป.ประจำกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด

35 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง
ผลการสอบทานที่ผ่านมา (ส่วนที่เกี่ยวข้องกับจังหวัด) กรณีปกติ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ข้อค้นพบ หน่วยงานที่พบปัญหา แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การปฏิบัติงานด้านการควบคุมภายในยังไม่ได้รับการตอบสนองให้เป็นไปตามเป้าหมายเท่าที่ควร (พบในรอบ ๖ เดือน) ส่วนราชการและจังหวัดส่วนใหญ่ ส่วนราชการควรมีการประชุมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจัดวางระบบควบคุมภายใน กำหนดวัตถุประสงค์ ทิศทางของการดำเนินการให้ชัดเจน และกำหนดแนวทางในการติดตามผลรอบ ๖ เดือน ทั้งในระดับส่วนงานย่อยและระดับองค์กรเป็นระยะๆนอกเหนือจากการติดตามผล เมื่อสิ้นปีงบประมาณ ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด พัฒนาระบบฐานข้อมูลของส่วนราชการและจังหวัดให้มีประสิทธิภาพเพื่อเป็นข้อมูลในการแก้ไขปัญหาที่เป็นรูปธรรม กระทรวงมหาดไทย รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของส่วนราชการและจังหวัดยังไม่เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน ทำให้บางส่วนราชการ/จังหวัดขาดการระบุสาระสำคัญ ในการติดตามความก้าวหน้า (พบในรอบ ๖ เดือน) ส่วนราชการ/จังหวัดส่วนใหญ่ เห็นควรให้ ค.ต.ป. กำหนดแนวทางการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในงวดก่อนรอบ ๖ เดือน ให้เป็นรูปแบบเดียวกัน พร้อมทั้งปรับปรุงคู่มือการสอบทาน ค.ต.ป.

36 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง
ผลการสอบทานที่ผ่านมา (ส่วนที่เกี่ยวข้องกับจังหวัด) กรณีปกติ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ข้อค้นพบ หน่วยงานที่พบปัญหา แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบขาดความรู้ความเข้าใจด้านการควบคุมภายใน และมีการโยกย้ายบ่อย ทำให้การดำเนินงานขาดความต่อเนื่อง ส่งผลให้การจัดทำรายงานล่าช้าและขาดความสมบูรณ์ ครบถ้วน บางส่วนราชการของ ก.การต่างประเทศ ก.วัฒนธรรม ก.ท่องเที่ยวฯ ก.การพัฒนาสังคมฯ จังหวัดส่วนใหญ่ ควรเร่งรัดดำเนินการพิจารณากรอบอัตรากำลังของบุคลากรที่ปฏิบัติงานให้มีความเหมาะสม เพื่อให้การดำเนินงานของส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ควรจัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการควบคุม ภายในและการบริหารความเสี่ยงไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่จะมารับงานต่อสามารถปฏิบัติงานได้อย่าง ต่อเนื่อง และสร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ต่อไป ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดทำแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปอ.๓) ยังไม่เหมาะสมในบางประเด็น ได้แก่ กำหนดเวลาแล้วเสร็จไม่เหมาะสมกับกิจกรรม จัดทำแผนควบคุมในงานภารกิจสนับสนุนมากกว่าภารกิจหลัก ข้อสังเกตเรื่องความน่าเชื่อถือของรายงานภาพรวม ปอ.๓ จังหวัด ก.ยุติธรรม ก.ศึกษาธิการ ก.สาธารณสุข ก.ทรัพยากรฯ ก.ICT ก.พาณิชย์ ก.วิทยาศาสตร์ ก.อุตสาหกรรม กรมบัญชีกลาง ร่วมกับส่วนราชการและจังหวัดควรจัดให้มีการเพิ่มพูนความรู้ด้านการวางระบบการควบคุมภายใน การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอโดยเฉพาะในเรื่องการวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดทำแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน รวมถึงแนวทางการจัดภาพรวม ปอ.๓ ของกระทรวงและจังหวัดที่เหมาะสมต่อไป ทั้งนี้ อาจขอความร่วมมือกับสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินด้วย ผู้บริหารของส่วนราชการและจังหวัดควรให้ความสำคัญและเป็น ผู้นำในการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการวิเคราะห์ จุดอ่อนความเสี่ยงของภารกิจหลักและยุทธศาสตร์สำคัญ เพื่อ เป็นการกระตุ้นและผลักดันการดำเนินงานด้านการควบคุมภายใน ให้ประสบผลสำเร็จและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการ กรมบัญชีกลาง

37 การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ผลการสอบทานที่ผ่านมา (ส่วนที่เกี่ยวข้องกับจังหวัด) กรณีปกติ การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ข้อค้นพบ หน่วยงานที่พบปัญหา แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การรายงานบางตัวชี้วัดมีเอกสาร หลักฐานอ้างอิงประกอบการรายงาน ไม่ครบถ้วน รวมทั้งไม่ระบุปัญหาอุปสรรคปัจจัยสนับสนุนการดำเนินงานและข้อเสนอแนะเพื่อการดำเนินการสำหรับ ปีต่อไป ก.ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก. การท่องเที่ยวและกีฬา ก. คมนาคม จังหวัดส่วนใหญ่ ส่วนราชการควรให้ความสำคัญในการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยเน้นย้ำให้ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดจัดทำรายงานผลการปฏิบัติราชการฯให้มีความครบถ้วนครอบคลุมตามแบบรายงานที่กำหนด ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด

38 ผลการสอบทานที่ผ่านมา (ส่วนที่เกี่ยวข้องกับจังหวัด)
กรณีปกติ รายงานการเงิน ข้อค้นพบ หน่วยงานที่พบปัญหา แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายต่ำกว่าเป้าหมายที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ทุกกระทรวง ยกเว้น ก. การคลังก.การต่างประเทศและ ก.ศึกษาธิการ จังหวัดส่วนใหญ่ ยกเว้นจังหวัดหนองบัวลำภู หนองคาย อุทัยธานี นครราชสีมา อุบลราชธานี ปัตตานี และกระบี่ ควรพิจารณาวางระบบการเบิกจ่ายภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วยระบบการจัดสรรงบประมาณประจำปี ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง และระบบอื่นที่เกี่ยวข้องใหม่ให้เหมาะสม กระทรวงการคลัง สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง ควรทบทวนและวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุของปัญหา การเตรียมความพร้อมการจัดซื้อจัดจ้าง และวางระบบการติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการ ตลอดจนเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ตามเป้าหมาย ปลัดกระทรวง อธิบดี กระทรวงมหาดไทย ผู้ว่าราชการจังหวัด การบันทึกรายการทางการเงินในระบบ GFMIS ยังมีความคลาดเคลื่อน กระทรวงและจังหวัดส่วนใหญ่ ควรกำหนดนโยบายการบัญชีหรือวิธีการปรับปรุงบัญชีในระบบ GFMIS เพื่อให้ได้บทสรุปเกี่ยวกับรายการคลาดเคลื่อนของสินทรัพย์ ซึ่งเป็นผลสะสมยกมาจากงวดก่อนๆ ของงบการเงิน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินการบัญชียังมีปัญหาความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีปฏิบัติทางการบัญชี และระบบ GFMIS โดยในบางหน่วยงานได้มอบหมายเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความสามารถไม่ตรงกับงานที่ปฏิบัติ จังหวัดส่วนใหญ่ ควรมีแผนปฏิบัติการ (Action Plan) เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานการเงินการบัญชีทั้งแผนระยะสั้นและระยะยาว สำนักงาน ก.พ. สำนักงาน ก.พ.ร. กรมบัญชีกลางควรจัดอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ตรวจสอบภายในให้ทั่วถึงอย่างต่อเนื่อง

39 ผลการสอบทานที่ผ่านมา (ส่วนที่เกี่ยวข้องกับจังหวัด)
การสอบทานกรณีพิเศษ ข้อค้นพบ หน่วยงานที่พบปัญหา แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการล่าช้าเนื่องจากความไม่พร้อมของพื้นที่ การจัดสรรงบประมาณไม่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน จังหวัดใน กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ - ๕ จังหวัดควรจัดลำดับความสำคัญของโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด มีการทำประชาคม และไม่เปลี่ยนแปลงโครงการโดยไม่จำเป็น ผู้ว่าราชการจังหวัด กระทรวงมหาดไทย กนจ. ควรเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมโครงการไว้ล่วงหน้าเพื่อเริ่มงานได้ทันทีเมื่อได้รับงบประมาณ หน่วยงานส่วนกลางควรเป็นพี่เลี้ยงในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัดให้มีความชัดเจน สำนักงบประมาณ สศช. ขาดการบูรณาการการดำเนินงานระหว่างหน่วยงานและการเชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่างกัน ทั้งในส่วนกลาง และระดับพื้นที่ รวมถึงภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง จังหวัดใน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ ๓ และ ๕ สร้างกลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ และควรพิจารณาให้มีช่องทางให้ประชาชนและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการพัฒนาจังหวัด ให้ความสำคัญกับการจัดทำฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับการดำเนินโครงการด้านต่างๆ ให้ทำระบบให้เป็นฐานเดียวกันทั้งในส่วนกลางและระดับพื้นที่ แผนงานโครงการไม่แสดงข้อมูลที่ชัดเจน ทำให้ไม่สามารถประเมินผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ และความยั่งยืนของโครงการ จังหวัดใน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ และ ๕ ควรให้ความสำคัญในการระบุเป้าหมายและประโยชน์ของโครงการที่ชัดเจน รวมทั้งแผนบริหารจัดการหลังโครงการแล้วเสร็จ และควรติดตามผลลัพธ์ของโครงการ

40 ที่อยู่ในการจัดส่งเอกสาร
สถานที่ติดต่อและจัดส่งเอกสาร จังหวัด ที่อยู่ในการจัดส่งเอกสาร กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ๑ ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสระบุรี กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ๒ ได้แก่ จังหวัดลพบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดอ่างทอง กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนครนายก จังหวัดสระแก้ว จังหวัดปราจีนบุรี กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง ๑ ได้แก่ จังหวัดนครปฐม จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด อนุกรรมการและเลขานุการ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ สำนักตรวจราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เลขที่ ๑ ถนนนครปฐม เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๒๘๒ ๑๔๔๕ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำพูน จังหวัดลำปาง จังหวัดแม่ฮ่องสอน กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๑ ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดตาก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดพิจิตร อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ โทรศัพท์: ๐ ๒๒๘๑ ๖๑๕๙, ๐ ๒๒๘๒ ๖๒๗๒

41 ที่อยู่ในการจัดส่งเอกสาร
สถานที่ติดต่อและจัดส่งเอกสาร จังหวัด ที่อยู่ในการจัดส่งเอกสาร กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๑ ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดหนองคาย จังหวัดเลย จังหวัดบึงกาฬ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ ได้แก่ จังหวัดสกลนคร จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดนครพนม กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๑ ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๒ ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดยโสธร อนุกรรมการและเลขานุการ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ สำนักตรวจราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เลขที่ ๑ ถนนนครปฐม เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์: ๐ ๒๒๘๑ ๖๑๕๙ , ๐ ๒๒๘๒ ๖๒๗๒ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง ๒ ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ได้แก่ จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส จังหวัดสตูล อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ โทรศัพท์: ๐ ๒๒๘๑ ๖๑๕๙, ๐ ๒๒๘๒ ๖๒๗๒

42 จบการนำเสนอ ขอขอบคุณทุกท่าน สามารถดาวน์โหลดเอกสารประกอบการบรรยายได้ที่
เว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. ที่ หัวข้อ เอกสารและสื่อ


ดาวน์โหลด ppt โดย คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google