งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ความเร่ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ความเร่ง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ความเร่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1

2 เนื้อหาการเรียนการสอน
ความเร่ง ความเร่งสัมพัทธ์ การวิเคราะห์หาความเร่ง เวกเตอร์ (Vector) ความเร่งสัมพัทธ์หรือรูปเหลี่ยมความเร่ง (Relative acceleration or acceleration polygon)

3 ความเร่ง 1 ความเร่งเชิงเส้น ความเร่งเชิงมุม 2

4 ความเร่ง องค์ประกอบความเร่ง
2 จุดศูนย์กลางความโค้ง องค์ประกอบความเร่ง องค์ประกอบความเร่งในแนว t แสดงการเปลี่ยนขนาดของความเร็ว องค์ประกอบความเร่งในแนว n แสดงการเปลี่ยนทิศทางของความเร็ว

5 การวิเคราะห์ความเร่งด้วยเวกเตอร์
1 ความเร่งคอริโอลิส ความเร่งของจุด P เทียบกับ XYZ ความเร่งของ xyz เทียบกับ XYZ ความเร่งของจุด P เทียบกับ xyz ความเร็วเชิงมุมของ xyz เทียบกับ XYZ ความเร็วของจุด P เทียบกับ XYZ

6 การวิเคราะห์ความเร่งด้วยเวกเตอร์
2 ความเร่งคอริโอลิสเป็นความเร่งที่เป็นผลมาจากการเคลื่อนที่ของวัตถุหนึ่งบนอีกวัตถุหนึ่งที่มีการเคลื่อนที่แบบหมุน เงื่อนไขในการเกิดความเร่งคอริโอลิส จุดสองจุดทับกันโดยที่จุดทั้งสองอยู่บนชิ้นต่อโยงต่างกัน จุดที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอันหนึ่งแต่ถูกบังคับให้เคลื่อนที่บนอีกชิ้นต่อโยงหนึ่ง จุดที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอันหนึ่งแต่ถูกบังคับให้เคลื่อนที่บนอีกชิ้นต่อโยงหนึ่ง

7 การวิเคราะห์ความเร่งด้วยวิธีรูปเหลี่ยม
1 กำหนดความสัมพันธ์ของความเร่งให้เหมือนกับกรณีของความเร็วสัมพัทธ์ ความเร่งจะมีสององค์ประกอบ ในกรณีที่การกำหนดความสัมพันธ์ในข้อที่ 1 นั้น ก่อให้เกิดความเร่งคอริโอลิสแล้ว ในสมการความสัมพันธ์ดังกล่าวจะต้องเพิ่มพจน์ความเร่งคอริโอลิสเข้าไปด้วย

8 ความเร็วสัมพัทธ์ ในกรณีที่
2 ในกรณีที่ สำหรับการเคลื่อนที่ของชิ้นต่อโยงที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอีกอันหนึ่งที่เคลื่อนที่ ความเร็วสัมบูรณ์ของจุดใดๆ ที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอันแรกเทียบกับจุดคงที่หนึ่งๆ จะเป็นผลรวมระหว่างความเร็วสัมบูรณ์ของชิ้นต่อโยงอันที่สองกับความเร็วสัมพัทธ์ของจุดใดๆ นั้นเทียบกับชิ้นต่อโยงอันที่สองนั่นเอง

9 การวิเคราะห์ความเร็ว: เวกเตอร์
1 จากระบบดังรูปได้ความสัมพันธ์ของเวกเตอร์ตำแหน่ง ความสัมพันธ์ของเวกเตอร์ความเร็ว

10 การวิเคราะห์ความเร็ว: ความเร็วสัมพัทธ์
2 การวิเคราะห์ความเร็วของกลไกโดยวิธีความเร็วสัมพัทธ์จะอาศัยหลักการของความเร็วสัมพัทธ์ดังที่ได้กล่าวแล้ว ความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างจุดสองจุดที่อยู่บนชิ้นต่อโยงเดียวกันจะมีทิศทางตั้งฉากกับเส้นตรงที่ลากเชื่อมต่อระหว่างจุดสองจุดนั้น หลักในการวาดแผนภาพความเร็ว กำหนดจุดคงที่ ในตำแหน่งที่เหมาะสม เวกเตอร์ความเร็วสัมบูรณ์ต้องวาดหรือเริ่มต้นจากจุดคงที่ เท่านั้น เวกเตอร์ความเร็วสัมพัทธ์ต้องวาดเชื่อมต่อระหว่างปลายของเวกเตอร์ความเร็วสัมบูรณ์เท่านั้น


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ความเร่ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google