งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

POLICY BRIEF ก้าวต่อไปของประเทศไทย 01 DECOUPLING

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "POLICY BRIEF ก้าวต่อไปของประเทศไทย 01 DECOUPLING"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 POLICY BRIEF ก้าวต่อไปของประเทศไทย 01 DECOUPLING
POLICY BRIEF ISSUE 01 June 2013 Catalyst for Strategic Transformation of Thailand DECOUPLING ก้าวต่อไปของประเทศไทย การเจริญเติบโตเศรษฐกิจ โดยใช้ทรัพยากรน้อยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำ

2 SIGA will work with you to … •    Identify emerging global challenges; •    Provide open policy platform for discussions; •    Suggest actionable strategies to deal with challenges; … and we aspire to be the catalyst for strategic transformation of Thailand. Director Dr. Suvit Maesincee SIGA - Sasin Institute for Global Affairs Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University Sasa Patasala Building, Soi Chula 12, Phyathai Road, Bangkok 10330, Thailand

3 1 ย่างก้าวแห่งการเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดความยากจน
ย่างก้าวแห่งการเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดความยากจน 1 Resource Decoupling การพัฒนาเศรษฐกิจที่ใช้ทรัพยากรน้อย อดีตและปัจจุบัน พัฒนาเศรษฐกิจโดยอิงกับทรัพยากร (Material Growth) ใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ อนาคต ต้องเน้นการพัฒนาประเทศไทยให้เติบโตโดยใช้ทรัพยากรน้อย (Reduced Material Economic Growth) • กรณีอุปสงค์มากกว่าอุปทาน: ปรับโครงสร้างการผลิตของประเทศจากเน้นใช้ทรัพยากรเป็นเน้นสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่ม (value creation) พัฒนากลไกในการกำกับดูแล (market signals and regulatory interventions) การควบคุม ไม่ให้เกิด overconsumption สนับสนุน R&D ในการสร้างอุปทานเพิ่ม • กรณีทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป: ต้องลดการใช้ทรัพยากร หาทรัพยากรใหม่ทดแทน ใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (encourage resource and energy efficiency policies) • กรณีทรัพยากรที่ฟื้นฟูได้: ใช้ในอัตราที่ฟื้นฟูทัน และมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรักษาและฟื้นฟูธรรมชาติ เพื่อการเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกันระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ ลงทุนในนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ยั่งยืน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

4 2 Impact Decoupling การพัฒนาเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อมน้อย อดีตและปัจจุบัน พัฒนาเศรษฐกิจโดยก่อให้เกิดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมต่ำ อนาคต ต้องเน้นการพัฒนาประเทศไทยโดยก่อให้เกิดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมน้อย เพื่อไม่ให้เป็นก่อผลกระทบภายนอก (Externalities) ไม่เป็นภาระในการจัดการมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม และลดผลกระทบต่อสุขภาพประชากรไทย • นโยบายสาธารณะและนโยบายกำจัดผลกระทบภายนอก (Externalities and Public Policies) โดยอาศัยการควบคุมมลพิษ ดำเนินมาตรการทางการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม มุ่งสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Society) ส่งเสริมการมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายและตระหนักถึงคุณภาพชีวิต โดยที่สังคมคาร์บอนต่ำจะต้องละทิ้งค่านิยมที่มุ่งเน้นการบริโภค หันมามุ่งเน้นคุณค่าของสถาบันครอบครัว สายใยชุมชน และ ความสัมพันธ์กับธรรมชาติ • การก้าวสู่การเป็นสังคมหมุนเวียนวัสดุที่ดี (Sound Material Cycle Society) โดยดำเนินโยบาย 3R (Reduce, Reuse, Recycle) เพื่อจัดการปัญหาการเพิ่มขึ้นของขยะและปริมาณขยะที่ไม่ได้บำบัดจัดการอย่างดี อันก่อให้เกิดมลพิษในด้านต่างๆ และจัดการกับปริมาณของวัตถุดิบเสียไปเนื่องจากผลของความไม่มีประสิทธิภาพของทรัพยากรและการบริหารจัดการขยะที่มหาศาล

5 Mitigation/ เพิ่มประสิทธิภาพ
ย่างก้าวแห่งการเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดความยากจน Mitigation/ เพิ่มประสิทธิภาพ GREEN ECONOMY Growth & Development: เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดความยากจน เป้าประสงค์ 01 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Competitiveness) ด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้านพลังงาน เพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ) สร้างความอยู่ดีมีสุข (Wellbeing) แก่ประชาชน (สร้างเสริมสุขภาพที่ดี ลดต้นทุนค่ารักษาการเจ็บป่วย สิ่งแวดล้อมที่ดี) 02

6 ประเด็นยุทธศาสตร์ 01 การพัฒนาประเทศอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Economy and Society) โดยปรับรูปแบบการผลิต การผลิตการลงทุน การใช้พลังงาน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร การสร้างตัวชี้วัดใหม่ของการพัฒนาเช่น SDG (Sustainable Development Goal), Green Economy Index, Wellbeing Nation Index เป็นต้น การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ (Holistic Management) เช่น การเชื่อมโยงกันระหว่างน้ำ พลังงาน อาหาร และที่ดิน ทั้งในระดับประเทศและอาเซียน การปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเด็นเกิดใหม่ทางสิ่งแวดล้อม และความเสี่ยงใหม่ๆ เช่น ภัยพิบัติ, critical infrastructure การสร้างศักยภาพการบริหารจัดการ (Capacity Building) (อาทิ โครงสร้างพิ้นฐาน กลไก นโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม ระบบแรงจูงใจ องค์ความรู้ ชุมชน เพื่อก่อให้เกิดการปรับพฤติกรรมและความตระหนักทางด้านสิ่งแวดล้อม) 02 03 04


ดาวน์โหลด ppt POLICY BRIEF ก้าวต่อไปของประเทศไทย 01 DECOUPLING

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google