งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก อื่น. ด้านการเมืองการปกครอง ในอดีต - ไกล่เกลี่ยความขัดแข้งระหว่างมาเลเซียและฟิลิปปินส์ เรื่องการอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาร์และซาราวัก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก อื่น. ด้านการเมืองการปกครอง ในอดีต - ไกล่เกลี่ยความขัดแข้งระหว่างมาเลเซียและฟิลิปปินส์ เรื่องการอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาร์และซาราวัก."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก อื่น

2 ด้านการเมืองการปกครอง ในอดีต - ไกล่เกลี่ยความขัดแข้งระหว่างมาเลเซียและฟิลิปปินส์ เรื่องการอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาร์และซาราวัก - สิงคโปร์แยกตัวออกมาจากมาเลเซีย โดยไทยมี บทบาทในการเจรจาไกล่เกลี่ย ( นำไปสู่การลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ เพื่อก่อตั้ง อาเซียน ) ในปัจจุบัน - ปัญหาด้านการเมืองการปกครองของเมียนมา ร่วมกัน ผลักดันให้เกิดประชาธิปไตยในเมียนมา - ปัญหาภายในของประเทศอินโดนีเซียจนเกิดการ จลาจล โดยไม่ได้เข้าไปแทรกแซง - ปัญหาชายแดนและเขาพระวิหารระหว่างไทยกับ กัมพูชา ปูทางไปสู่การเจรจาตามกลไกทวิภาคีทั้ง 2 ประเทศ

3 ด้านเศรษฐกิจ อาเซียนตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ จะต้องรวมตัวกันให้แน่นแฟ้น ยิ่งขึ้น เพื่อเป็นแนว ทางการดำเนินนโยบายของตนให้สอดคล้องและ เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้ สามารถแข่งขันได้ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ช่วยเหลือให้ประเทศสมาชิกจัดตั้งระบบกรอบทักษะฝีมือ แรงงานระดับอาเซียนด้วยกัน จัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนขึ้นมาเพื่อให้อาเซียน ได้เปรียบและดึงดูดการลงทุนจากภายนอกและภายใน ภูมิภาค พยายามขจัดและลดอุปสรรคต่าง ๆ เช่น การปรับปรุง ระเบียบพิธีการศุลกากร ปรับมาตรฐานการผลิตให้ได้ มาตรฐานเดียวกัน ส่งเสริมให้มีการค้าเสรี การบริการ และเพิ่มความเข้มแข็งของระบบเครือข่ายการคมนาคม ขนส่งและการติดต่อสื่อสารให้มีคุณภาพมากขึ้น

4 ด้านสังคมและวัฒนธรรม การพัฒนาสังคม การศึกษา สาธารณสุข วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีและ การรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เร่งกำหนดแผนความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ในระดับภูมิภาค โดยมุ่งเน้นการพัฒนาขีด ความสามารถเพื่อให้ปรับตัวเข้ากับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ และสภาพเศรษฐกิจ ตลอดจนความต้องการภาคธุรกิจที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ( ร่วมมือกับประเทศที่ 3, ความร่วมมือในกรอบสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ ) มีความร่วมมือด้านการศึกษา เช่น การจัดทำเครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียนเพื่อเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยของ ภูมิภาค การจัดตั้งมหาวิทยาลัยอาเซียนเพื่อส่งเสริมการ รวมกลุ่มมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัย โดยใช้ อินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลต่าง ๆ

5 ด้านสิทธิมนุษยชน ปัจจุบันสิทธิมนุษยชนได้ทวีความสำคัญ อาเซียนจึงได้มี บทบาทสำคัญในด้านนี้มากขึ้น โดยการจัดตั้งองค์กรสิทธิ มนุษยชนขึ้นมา คณะกรรมมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิ มนุษยชน - ไอซาร์ (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights - AICHR) ได้มีการจัดตั้งอย่างเป็น ทางการในการประชุมสุดยอด ครั้งที่ 14 เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ. ศ.2552 โครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษาร่วมกับ ผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วย สิทธิมนุษยชน เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเรื่องสิทธิ มนุษยชน เพื่อให้สังคมได้รับรู้และมีความเข้าใจในเรื่อง บทบาทของอาเซียน ตัวอย่างเรื่องการแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในเมียน มา เมียนมาปล่อยนักโทษการเมืองเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ. ศ.2554

6 ด้านสิ่งแวดล้อม มีการจัดตั้งศูนย์อาเซียนว่าด้วยความหลากหลายทาง ชีวภาพ ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่ง สอดคล้องกับการทำ Road Map อาเซียนภายใต้ชื่อ แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียนที่มุ่งบริการจัดการสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติด้วยแนวคิดอนุรักษ์ดิน น้ำ แร่ธาตุ พลังงาน ความหลากหลาย ใน พ. ศ. 2551 – 2555 อาเซียนได้กำหนดให้ประเทศ สมาชิกบรรจุเนื้อหา วิชาการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการพัฒนารักษาสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนใน ระบบ การศึกษาขั้นพื้นฐานในทุกโรงเรียนในทุกประเทศ สมาชิก


ดาวน์โหลด ppt บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก อื่น. ด้านการเมืองการปกครอง ในอดีต - ไกล่เกลี่ยความขัดแข้งระหว่างมาเลเซียและฟิลิปปินส์ เรื่องการอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาร์และซาราวัก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google