งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

4172107 กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "4172107 กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 4172107 กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี สมุทรปราการ

2 สัปดาห์ที่ 1 ประกอบด้วยหัวข้อ ต่อไปนี้ ชี้แจงแนวการสอน ชี้แจงแนวการสอน ชี้แจงรายละเอียดและเงื่อนไขในการเรียน ชี้แจงรายละเอียดและเงื่อนไขในการเรียน ภาพรวมของวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ ภาพรวมของวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ คำถามท้ายสัปดาห์ที่ 1 คำถามท้ายสัปดาห์ที่ 1

3 คะแนน 1. เวลาเรียน 10 คะแนน 1. เวลาเรียน 10 คะแนน 2. รายงาน 15 คะแนน 2. รายงาน 15 คะแนน 3. สอบกลางภาค 25 คะแนน 3. สอบกลางภาค 25 คะแนน 4. ใบงาน 10 คะแนน 4. ใบงาน 10 คะแนน 5. แบบฝึกหัด 10 คะแนน 5. แบบฝึกหัด 10 คะแนน 6. สอบปลายภาค 30 คะแนน 6. สอบปลายภาค 30 คะแนน 100 คะแนน 100 คะแนน

4 เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนนผลการเรียน 90-100 85-89 75-84 70-74 60-69 55-59 50-54 49-0 AB+BC+CD+DFAB+BC+CD+DF

5 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายได้ว่า ‘ กล ยุทธ์การบริหารงานอุตสาหกรรม ’ สำคัญ อย่างไร 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายได้ว่า ‘ กล ยุทธ์การบริหารงานอุตสาหกรรม ’ สำคัญ อย่างไร 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายได้ว่า ‘ กล ยุทธ์ ’ หมายความว่า อย่างไร 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายได้ว่า ‘ กล ยุทธ์ ’ หมายความว่า อย่างไร 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายได้ว่า ‘ กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ ’ มีกี่ ขั้นตอน อะไรบ้าง 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายได้ว่า ‘ กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ ’ มีกี่ ขั้นตอน อะไรบ้าง

6 ทำไมต้องมีการบริหารเชิงกล ยุทธ์ การมีกลยุทธ์ทำให้มีจุดมุ่งในการไปสู่ เป้าหมายที่ชัดเจน การมีกลยุทธ์ทำให้มีจุดมุ่งในการไปสู่ เป้าหมายที่ชัดเจน การมีกลยุทธ์เป็นการเลือกวิธีการที่ดี ที่สุดในสถานการณ์ที่เหมาะสม การมีกลยุทธ์เป็นการเลือกวิธีการที่ดี ที่สุดในสถานการณ์ที่เหมาะสม การมีกลยุทธ์ทำให้เกิดความชัดเจนใน ภารกิจและบทบาทความเกี่ยวข้องของ บุคคลฝ่ายต่างๆ การมีกลยุทธ์ทำให้เกิดความชัดเจนใน ภารกิจและบทบาทความเกี่ยวข้องของ บุคคลฝ่ายต่างๆ การมีกลยุทธ์ทำให้มีแนวทางที่ชัดเจน ในการวัดและประเมินผลสำเร็จ การมีกลยุทธ์ทำให้มีแนวทางที่ชัดเจน ในการวัดและประเมินผลสำเร็จ

7 ความหมายของกลยุทธ์ ทิศทางและขอบเขตของธุรกิจในระยะ ยาวซึ่งทำให้สามารถใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรอย่างได้เปรียบภายใต้ การ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่ท าให้ บรรลุเป้าหมาย ของตลาดและความ คาดหวังผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทิศทางและขอบเขตของธุรกิจในระยะ ยาวซึ่งทำให้สามารถใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรอย่างได้เปรียบภายใต้ การ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่ท าให้ บรรลุเป้าหมาย ของตลาดและความ คาดหวังผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Direction, Scope, Advantage, Resources, Changing Environment, Market, Stakeholder) (Direction, Scope, Advantage, Resources, Changing Environment, Market, Stakeholder)

8 สมยศ นาวีการ (2542) ให้ ความหมายไว้ว่า กลยุทธ์ คือ แผนงานระยะยาวขององค์การ ที่ถูกกำหนดขึ้นมา เพื่อการ บรรลุภารกิจและเป้าหมายของ องค์การ กลยุทธ์จะต้องใช้ข้อ ได้เปรียบจากการแข่งขันให้ มากที่สุดและข้อเสียเปรียบ ทางการแข่งขันน้อยที่สุด สมยศ นาวีการ (2542) ให้ ความหมายไว้ว่า กลยุทธ์ คือ แผนงานระยะยาวขององค์การ ที่ถูกกำหนดขึ้นมา เพื่อการ บรรลุภารกิจและเป้าหมายของ องค์การ กลยุทธ์จะต้องใช้ข้อ ได้เปรียบจากการแข่งขันให้ มากที่สุดและข้อเสียเปรียบ ทางการแข่งขันน้อยที่สุด

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19 ความหมายของอุตสาหกรรม พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน พ. ศ. 2525 ได้ให้ ความหมายของ อุตสาหกรรมว่า “ การทำ สิ่งของเพื่อให้เกิดผล ประโยชน์เป็นกำไร การ ประกอบธุรกิจขนาด ใหญ่ที่ต้องใช้แรงงาน และทุนมาก ” พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน พ. ศ. 2525 ได้ให้ ความหมายของ อุตสาหกรรมว่า “ การทำ สิ่งของเพื่อให้เกิดผล ประโยชน์เป็นกำไร การ ประกอบธุรกิจขนาด ใหญ่ที่ต้องใช้แรงงาน และทุนมาก ”

20 อุตสาหกรรมเป็นองค์กรทางธุรกิจ ที่จัดตั้งขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเฉพาะ และต้องพยายามที่จะมุ่งไปสู่ จุดมุ่งหมายนั้น โดยอาศัยการ ทำงานร่วมกันของกลุ่มคนซึ่ง องค์กรทางธุรกิจและอุตสาหกรรม อาจแบ่งได้เป็น องค์กรธุรกิจ ทางด้านการผลิตสินค้า และองค์กร ธุรกิจทางด้านการให้บริการ อุตสาหกรรมเป็นองค์กรทางธุรกิจ ที่จัดตั้งขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเฉพาะ และต้องพยายามที่จะมุ่งไปสู่ จุดมุ่งหมายนั้น โดยอาศัยการ ทำงานร่วมกันของกลุ่มคนซึ่ง องค์กรทางธุรกิจและอุตสาหกรรม อาจแบ่งได้เป็น องค์กรธุรกิจ ทางด้านการผลิตสินค้า และองค์กร ธุรกิจทางด้านการให้บริการ

21 กิจกรรมพื้นฐานของ อุตสาหกรรม ความสัมพันธ์ของกิจกรรม ความสัมพันธ์ของกิจกรรมพื้นฐานของอุตสาหกรรม

22 ธุรกิจอุตสาหกรรมที่มีลักษณะของ การผลิต (production) 1. การผลิตสินค้า (goods producing) 1. การผลิตสินค้า (goods producing) 2. การผลิตงานด้านการบันเทิง (entertainment) 2. การผลิตงานด้านการบันเทิง (entertainment) 3. การผลิตงานด้านติดต่อสื่อสาร (communication) 3. การผลิตงานด้านติดต่อสื่อสาร (communication)

23 ธุรกิจอุตสาหกรรมที่มีการดำเนินการ ในลักษณะของการบริการ (service operation) 1 การบริการด้านการศึกษา (education) 1 การบริการด้านการศึกษา (education) 2 การบริการสุขภาพ (health care) 2 การบริการสุขภาพ (health care) 3 การบริการรายบุคคล (personal services 3 การบริการรายบุคคล (personal services 4 ธุรกิจการบริการ เช่น บริการจัดส่ง จัดหา งาน บริการข้อมูล เป็นต้น 4 ธุรกิจการบริการ เช่น บริการจัดส่ง จัดหา งาน บริการข้อมูล เป็นต้น 5 บริการด้านการเงิน 5 บริการด้านการเงิน 6 ขายส่ง ขายปลีก (whole sale / retail) 6 ขายส่ง ขายปลีก (whole sale / retail) 7 รัฐวิสาหกิจ หรือรัฐบาล (government) 7 รัฐวิสาหกิจ หรือรัฐบาล (government)

24 องค์กรธุรกิจและอุตสาหกรรม กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ อุตสาหกรรม กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ อุตสาหกรรม

25 กลยุทธ์การบริหารงาน อุตสาหกรรม คือ การสร้างแผนการหรือการ วางแผนงานเพื่อความได้เปรียบใน การแข่งขันทางธุรกิจ โดยเป็นผลิต สินค้าและบริการให้มีปริมาณและ คุณภาพที่ดี มีราคาที่เหมาะสม สนองตอบต่อความต้องการของ ลูกค้า คือ การสร้างแผนการหรือการ วางแผนงานเพื่อความได้เปรียบใน การแข่งขันทางธุรกิจ โดยเป็นผลิต สินค้าและบริการให้มีปริมาณและ คุณภาพที่ดี มีราคาที่เหมาะสม สนองตอบต่อความต้องการของ ลูกค้า

26 กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์

27 1. การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (Strategic analysis) กระบวนการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ เริ่มต้นจาก การศึกษาวิเคราะห์ ตรวจสอบและประเมิน สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการ ดำเนินงานขององค์การ ทั้งปัจจัยภายนอก (External) และปัจจัยภายใน (Internal) โดยทำ การวิเคราะห์จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) วิธีการวิเคราะห์นี้เรียกว่า “ การ วิเคราะห์สวอท ” หรือ “SWOT Analysis” กระบวนการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ เริ่มต้นจาก การศึกษาวิเคราะห์ ตรวจสอบและประเมิน สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการ ดำเนินงานขององค์การ ทั้งปัจจัยภายนอก (External) และปัจจัยภายใน (Internal) โดยทำ การวิเคราะห์จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) วิธีการวิเคราะห์นี้เรียกว่า “ การ วิเคราะห์สวอท ” หรือ “SWOT Analysis”

28 2. การกำหนดกลยุทธ์ (Strategic formulation) กระบวนการกำหนดกลยุทธ์ คือ การนำข้อมูล ต่างๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์หรือ การวิเคราะห์ SWOT มาทำการประมวลผล เพื่อใช้กำหนดทิศทางกลยุทธ์ในอนาคตของ องค์การ โดยการกำหนดทิศทางขององค์การ ประกอบด้วยการกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) วัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมาย (Goal) รวมทั้งกำหนดกลยุทธ์ ตามระดับขององค์การ ได้แก่ กลยุทธ์ระดับ องค์การ (Corporate Strategy) กลยุทธ์ระดับ ธุรกิจ (Business Strategy) และกลยุทธ์ระดับ หน้าที่ (Functional Strategy) กระบวนการกำหนดกลยุทธ์ คือ การนำข้อมูล ต่างๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์หรือ การวิเคราะห์ SWOT มาทำการประมวลผล เพื่อใช้กำหนดทิศทางกลยุทธ์ในอนาคตของ องค์การ โดยการกำหนดทิศทางขององค์การ ประกอบด้วยการกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) วัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมาย (Goal) รวมทั้งกำหนดกลยุทธ์ ตามระดับขององค์การ ได้แก่ กลยุทธ์ระดับ องค์การ (Corporate Strategy) กลยุทธ์ระดับ ธุรกิจ (Business Strategy) และกลยุทธ์ระดับ หน้าที่ (Functional Strategy)

29 3. การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (Strategic implementation) กระบวนการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ หมายถึง การนำกลยุทธ์ที่ถูก กำหนดขึ้นไปประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ผ่าน การจัดโครงสร้างบุคลากรและการ ประสานงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ กระบวนการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ หมายถึง การนำกลยุทธ์ที่ถูก กำหนดขึ้นไปประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ผ่าน การจัดโครงสร้างบุคลากรและการ ประสานงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ

30 4. การประเมินและควบคุมกลยุทธ์ (Evaluation and control) กระบวนการประเมินและควบคุมกล ยุทธ์ หมายถึง การติดตามและ ตรวจสอบ (Monitoring) วิเคราะห์ปัญหา กำหนดแนวทางปรับปรุงและพัฒนา ให้ กลยุทธ์ที่กำหนดอยู่เกิดความ สอดคล้องกับสถานการณ์จริง เพื่อ องค์การจะได้รับคุณค่าสูงสุดจากการ ดำเนินงานตลอดจนทำการประเมินผล ว่าประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย หรือไม่ เพื่อนำไปพัฒนากลยุทธ์ต่อไป กระบวนการประเมินและควบคุมกล ยุทธ์ หมายถึง การติดตามและ ตรวจสอบ (Monitoring) วิเคราะห์ปัญหา กำหนดแนวทางปรับปรุงและพัฒนา ให้ กลยุทธ์ที่กำหนดอยู่เกิดความ สอดคล้องกับสถานการณ์จริง เพื่อ องค์การจะได้รับคุณค่าสูงสุดจากการ ดำเนินงานตลอดจนทำการประเมินผล ว่าประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย หรือไม่ เพื่อนำไปพัฒนากลยุทธ์ต่อไป

31

32

33

34

35 ประโยชน์ของการจัดการเชิงกล ยุทธ์ 1) ทำให้เข้าใจวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์ ขององค์การที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 1) ทำให้เข้าใจวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์ ขององค์การที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 2) ทำให้ทราบว่าควรจะมุ่งเน้นเรื่อง ใดที่มีความสำคัญเชิงกลยุทธ์ 2) ทำให้ทราบว่าควรจะมุ่งเน้นเรื่อง ใดที่มีความสำคัญเชิงกลยุทธ์ 3) ทำให้เข้าใจสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงดียิ่งขึ้น 3) ทำให้เข้าใจสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงดียิ่งขึ้น

36


ดาวน์โหลด ppt 4172107 กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google