งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
เสรีนิยมคลาสสิก (Classical Liberalism) เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics) เสรีนิยมใหม่ (Neoliberalism)

2 เสรีนิยมคลาสสิก (Classical Liberalism)
Free Market กลไกตลาด Invisible Hand Equilibrium เอกชนมีสิทธิ เสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รัฐบาล ไม่เข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ

3 เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics
แก้ปัญหาทุนนิยมเสรี บทบาทรัฐ แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ เช่น เงินเฟ้อ เงินฝืด สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ โดยใช้ นโยบายการเงิน เช่น ดอกเบี้ย นโยบายการคลัง เช่น Infrastructure

4 เสรีนิยมใหม่ (Neoliberalism)
การตัดสินใจปัจเจกบุคคล และกรรมสิทธ์ส่วนบุคคล Utility Maximization Optimization การแข่งขัน ความร่วมมือ ประสิทธิภาพ ความเท่าเทียมกัน

5 เสรีนิยมใหม่ (Neoliberalism)
เน้นสร้างบรรยากาศการค้า การลงทุนกับเอกชน เน้น MNCs ส่งเสริมกระบวนการผลิต เน้น FDI ผลที่เกิดขึ้น การไล่กวดทางเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนา

6 นโยบายเศรษฐกิจเสรีนิยมใหม่
1. Economic Liberalization การเปิดเสรีทางการค้า การลงทุน และการเงิน กลไกตลาดทำงานอย่างเสรี ไม่มีอุปสรรคกีดขวางการไหลของเงินลงทุน การค้าระหว่างประเทศ

7 2.Deregulation รัฐบาลยกเลิกกฎเกณฑ์ การกำกับ การควบคุมกฎระเบียบ เช่น ยกเลิกการแทรกแซงตลาด หน้าที่ของรัฐบาล คือ รักษากฎกติกาเท่านั้น

8 3.Privatization การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
จุดมุ่งหมาย ลดภาระการเงินของรัฐบาลลง เพิ่มประสิทธิภาพการบริการสินค้าแก่ประชาชน การเพิ่มโอกาสให้เอกชนเข้ามาดำเนินกิจการของรัฐมากขึ้น การกระจายหุ้นรัฐวิสาหกิจในตลาดหลักทรัพย์ การยกเลิกการผูกขาด เปิดโอกาสการแข่งขันทางธุรกิจของเอกชนมากขึ้น

9 การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เช่น รักษาอัตราเงินเฟ้อ ให้อยู่ในเกณฑ์ต่ำ
4. Price Stabilization การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เช่น รักษาอัตราเงินเฟ้อ ให้อยู่ในเกณฑ์ต่ำ ควบคุมเป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Targeting Policy)

10 การเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ (Financial Liberalization)
การทำให้ธุรกรรมระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ทางการเงิน เช่น หุ้น พันธบัตร เงินตราต่างประเทศ เงินฝาก เงินกู้ ตราสารอนุพันธ์ รวมถึงเงินลงทุน เป็นไปอย่างเสรีตามกลไกตลาด

11 การเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ (Financial Liberalization)
ลดการกำกับควบคุมโดยรัฐ ยกเลิกข้อจำกัดและกฎกติกาที่เป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ รัฐทำหน้าที่เป็นเพียงผู้ดูแลและรักษากติกาของระบบ

12 ข้อดีการเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ
1.Financial markets and Financial Institutions เชื่อมโยงการเงินระหว่างประเทศเข้าด้วยกัน ผู้กู้ และผู้ถูกกู้ได้รับประโยชน์ด้วยกัน ผ่านสถาบันการเงินระหว่างประเทศ

13 ข้อดีการเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ
2.Economic growth ช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศลดน้อยลง เพราะการลงทุนระหว่างประเทศ ทำให้เกิดการสร้างงาน ตลาดแรงงานในแต่ละประเทศขยายตัว ส่งผลให้เศรษฐกิจเติบโต

14 ข้อดีการเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ
3.Financial Service การเข้าถึงการบริการทางการเงินได้อย่างรวดเร็ว เพิ่มโอกาสการพัฒนา การแข่งขัน เสริมสภาพคล่อง ผู้ประกอบการเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้หลายแหล่ง

15 สร้างบรรยากาศ และจูงใจการลงทุน
4.Policy Discipline ประเทศต้องรักษาระเบียบวินัยในการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ การเงิน และการคลังของประเทศ สร้างบรรยากาศ และจูงใจการลงทุน ปฎิรูป เช่น ภาษี กฎหมาย เพื่อเกิดความทันสมัย

16 ข้อดีการเปิดเสรีการเงินระหว่างประเทศ
5.Allocate Efficiency เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรระหว่างประเทศ เช่น ประเทศที่มีเงินทุนน้อย สามารถได้โอกาสการลงทุนจากประเทศที่มีเงินลงทุนมาก

17 ท้าทายแนวคิดการเปิดเสรีการเงิน
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไม่เป็นไปตามทฤษฎี การลงทุนข้ามชาติ Foreign Direct Investment (FDI) และบรรษัทข้ามชาติ (MNCs) การกระจุกตัวของการลงทุนของ FDI การลดลงของFDI ในภาคการลงทุนระยะยาว

18 ท้าทายแนวคิดการเปิดเสรีการเงิน
สร้างความไร้เสถียรภาพ และความผันผวน การเคลื่อนย้ายของทุนอย่างเสรีมีจำกัด การต่อรองของแรงงานลดลง

19 Class Activity Global Crisis vs Thai Crisis?


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google