งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เดี๋ยว QA เดี๋ยว TQA: จะอีกซะกี่เดี๋ยว?? คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 22 เมษายน 2550 พรทิพย์ กาญจนนิยต คนรัก QA

2 ลำดับการนำเสนอ สู่คุณภาพอย่างจริงจัง รู้จัก TQA ต่อยอด QA Q & A

3 วัตถุประสงค์ รู้และเข้าใจระดับต้นเรื่องเกณฑ์ TQA
เห็น TQA เป็นเรื่องเดียวกับ QA กระตุ้น‘ต่อมอยากรู้’เกณฑ์ TQA เพิ่ม กระตุกใจให้ท้าทายการต่อยอดงาน QA ลองขยับสู่การเขียนโครงร่างองค์กร

4 QA รอบสอง ‘ยังไม่พร้อม’ ทำเพราะ ‘ต้องทำ’ ทำแค่ ‘ผ่าน EQA’

5 สวัสดีค่ะ

6 QA รอบแรก ‘ทำใจ ตั้งหลัก’ QA รอบ 2 ‘ทำจริง ลงลึก ท้าทาย ทำทั่วองค์กร’

7 ต่อยอด QA ด้วยเกณฑ์ใหม่
Malcolm Baldrige National Quality Award-MBNQA หรือ Thailand Quality Award-TQA

8 เมื่อก่อน Performance JAPAN USA ? QC 1950 1960 1970 1980 1990 Time
Establishment of Deming Prize Time MBNQA start……

9 1980+ กราฟพุ่งพรวด Performance USA JAPAN ? Benchmarking Restructuring
TQC ? QC Benchmarking Restructuring Establishment of TQA Establishment of JQA Establishment of MBNQA Time MBNQA, Health Care and Education start……

10 วัตถุประสงค์ของ MBNQA/TQA
มาตรฐานสูงสุดระดับโลกของการดำเนินงานภาพรวมอย่างมีคุณภาพและแข่งขันได้ กรอบที่เป็นไปตามระบบและกระบวนการที่จะให้เกิดการปรับปรุงคุณภาพ ประเมินมาตรฐานคุณภาพ ความคาดหวัง และ ช่วยให้เกิดการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

11 ผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ
พัฒนาต่อเนื่อง ผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ ประเมินองค์กร ข้อมูลย้อนกลับ

12 คิด ทำ พัฒนาอย่างเป็นระบบ
ประเมินตนไปทำไม ตอบรับกับปัจจัยภายนอก รักษาความเป็นผู้นำ ปรับปรุงผลการดำเนินงาน คิด ทำ พัฒนาอย่างเป็นระบบ ทั่วทั้งองค์กร

13 (1) Reacting to Problems (2) Early Systematic Approaches
Strategic And Operational Goals Strategic and Operational Goals (3) Aligned Approaches (4) Integrated Approaches Strategic and Operational Goals Strategic and Operational Goals

14 ค่านิยมหลักและแนวคิด
พื้นฐานของเกณฑ์ ค่านิยมหลักและแนวคิด 1. การนำองค์กรอย่างมี วิสัยทัศน์ 2. ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้น ลูกค้า 3. การเรียนรู้ขององค์กร และของแต่ละบุคคล 4. การเห็นคุณค่าของ พนักงานและคู่ค้า 5. ความคล่องตัว 6. การมุ่งเน้นอนาคต 7. การจัดการเพื่อ นวัตกรรม 8. การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง 9. ความรับผิดชอบต่อ สังคม 10. การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 11. มุมมองในเชิงระบบ

15 ส่วนประกอบพื้นฐาน โครงร่างองค์กร ระบบปฏิบัติการ ระบบสนับสนุน
พื้นฐานด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร ความสัมพันธ์กับกลุ่ม ต่างๆในระดับองค์กร สภาพการแข่งขันและความท้าทาย ระบบปฏิบัติการ ระบบการปฏิบัติการทั้ง 6 ส่วนคือ การนำองค์กร การ วางแผนกลยุทธ์ การมุ่งเน้นลูกค้า ผมสดสส และตลาด การ มุ่งเน้นworkforce การจัดการกระบวนการ และผลลัพธ์ ระบบสนับสนุน ระบบการจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

16 มุมมองในเชิงระบบ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
6 การจัดการ กระบวนการ 5 เน้น workforce 2 . การวางแผน เชิงกลยุทธ์ การนำ องค์กร 1 7 ผลลัพธ์ . มุ่งเน้นลูกค้า 3 ผมสดสส&ตลาด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

17 แนวทางการให้คะแนนกระบวนการ
ประกอบด้วย 4 มิติย่อยคือ - การเลือกใช้วิธีการ (Approach) - การนำไปปฏิบัติ (Deployment) - การเรียนรู้ (Learning) - การบูรณาการ (Integration) A-D-L-I DEPLOYMENT APPROACH LEARNING INTEGRATION

18 แนวทางการให้คะแนนผลลัพธ์
ประกอบด้วย 4 มิติย่อยคือ LEVEL TREND COMPARISON LINKAGE

19 คะแนนในแต่ละหมวด คะแนน คะแนนรวม 1000
หมวด 1 การนำองค์กร 120 หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 80 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับลูกค้า ผมสดสส และตลาด หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 80 หมวด 5 การให้ความสำคัญกับคณาจารย์และบุคลากร 100หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 110 หมวด 7 ผลลัพธ์ในการดำเนินงานขององค์กร 400 คะแนนรวม 1000

20 ทำไมต้อง TQA มองภาพรวมอย่างเชื่อมโยง คำนึงถึงบริบทองค์กร
องค์กรเลือกเครื่องมือตามที่เห็น เหมาะ เน้นกระบวนการที่มีระบบสู่ผลลัพธ์ ชัดเจน นานาชาติใช้แล้วเชื่อว่าใช้ได้ดี

21 โครงร่างองค์กร Org’al Profile (OP)
มองตัวเองโดยรอบให้ได้ลำดับ ความสำคัญ ดูตน/ความสัมพันธ์/ความท้าทาย คือบริบทที่เป็นเอกลักษณ์

22 Organizational Profile P.2 ความท้าทายขององค์กร
โครงร่างองค์กร Organizational Profile P.1 ลักษณะองค์กร P.2 ความท้าทายขององค์กร a. สภาพแวดล้อม b. ความสัมพันธ์ a. สภาพการแข่งขัน b. ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ c. ระบบการปรับปรุง

23

24

25

26 ภาวะผู้นำของผู้นำระดับสูง
หมวด 1 การนำองค์กร ภาวะผู้นำของผู้นำระดับสูง - กำหนดทิศทาง/กระตุ้นการสื่อสาร/สร้างบรรยากาศ/กำกับดูแลให้ยั่งยืน/มีส่วนร่วม ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม - ต่อส่วนรวม/อย่างมีจริยธรรม/ชุมชนเป้าหมาย

27 หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์
หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การจัดทำกลยุทธ์ - กระบวนการ/วัตถุประสงค์ การนำกลยุทธไปปฎิบัติ - แปลงเป็นแผนปฎิบัติ/ ผลที่คาดการณ์/ แผนเปลี่ยนกะทันหัน ทำต่อได้ทันที

28 หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า ผมสดสสและตลาด
หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า ผมสดสสและตลาด รู้อะไรเกี่ยวกับทั้ง 3 กลุ่ม รับฟัง / ใช้ข้อมูล / ทันความต้องการ ความสัมพันธ์เป็นอย่างไร จูงใจได้ /กลไกให้เข้าถึงข้อมูล / เงื่อนไขข้อร้องเรียน / ความพึงพอใจ /ความไม่พึงพอใจ /ติดตาม /ทันการ

29 เลือก/ รวบรวม/ ใช้/ เปรียบเทียบ
หมวด 4 การวัดผล การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เลือก/ รวบรวม/ ใช้/ เปรียบเทียบ ทบทวนความสามารถองค์กร/เท่าทันความเปลี่ยนแปลง/ เอื้อเกิดนวัตกรรม software/hardware ทันสมัย ใช้ดี ปลอดภัย การจัดการความรู้ สะสม/ ถ่ายทอด/ แบ่งปันความรู้ที่ดี/ เหมาะ

30 หมวด 5 การมุ่งเน้น workforce
การมีส่วนร่วมของบุคลากร/ ความพึงพอใจ วัฒนธรรมองค์กรให้เกิดผลการดำเนินงานที่ดี การพัฒนาบุคลากรและระบบการเรียนรู้ที่สะท้อนความต้องการในการเรียนรู้และพัฒนา การประเมินการมีส่วนร่วม/ วิธีประเมินทั้งทางการและไม่ทางการและเชื่อมกับผล capability และ capacity ของบุคลากร สภาวะแวดล้อม

31 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
กำหนด core competencies ออกแบบและวางระบบงานภาพรวม ระบบงานหลักที่สัมพันธ์กับ core competencies การพร้อมรับเหตุฉุกเฉิน การจัดการ/ การปรับปรุงระบบงาน

32 ผลลัพธ์ด้านการผลิตภัณฑ์และบริการ ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า
หมวด 7 ผลลัพธ์ด้านผลการดำเนินงานขององค์กร ผลลัพธ์ด้านการผลิตภัณฑ์และบริการ ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า ผลลัพธ์ด้านการเงินและตลาด ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นประสิทธิผลขององค์กร ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กรและความรับผิดชอบต่อสังคม

33 ความเชื่อมโยง ภาพรวมขององค์กร ระหว่างหมวดและหัวข้อ

34 ความเชื่อมโยงระหว่างโครงร่างองค์กรกับเกณฑ์ทั้ง 7 หมวด
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโครงร่างองค์กรและเนื้อหาในเกณฑ์

35 ผู้นำเชื่อมกับอะไรบ้าง
การวางแผนกลยุทธ์ และการทำให้สอดคล้องกับทิศทางขององค์กร การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ความต้องการของลูกค้า การพัฒนาบุคลากร ระบบงาน

36 ความรู้เรื่องลูกค้า ผมสดสส และตลาด
เชื่อมกับ? การวางแผนกลยุทธ์ การจัดกระบวนการให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและกระบวนการสนับสนุน การนำองค์กร การวัดผล การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

37 เนื้อหาของเกณฑ์ประกอบด้วย ในประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้อง
คำถาม ในประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการทำงานภายในองค์กร ที่มุ่งเน้นไปสู่ความเป็นเลิศ

38 เป็นระบบ(Systematic)
กระบวนการเหล่านี้ต้องมี ลักษณะการดำเนินการที่ เป็นระบบ(Systematic) และนำไปสู่ผลลัพธ์ การดำเนินการที่ดีเลิศ ตามบริบทขององค์กร

39 QA & TQA

40 ต่อยอด ให้ก้าวกระโดดด้วยจินตนาการ
QA เริ่มสร้างนิสัย & ก่อร่างวางฐาน TQA ต่อยอด ให้ก้าวกระโดดด้วยจินตนาการ

41 เจ้าหนูชินจัง ระวัง!!

42 ชินจังชอบอะไรเหรอ ...ถอย 1 ก้าว มองว่า ทำไป ทำไม....
มีการกำหนดตัวชี้วัด.....ขอชัด ๆ พร้อมจำนวน Check-list ที่ถาม ‘มี’ ‘ไม่มี’ ทำตามความชิน.....ลืมเชื่อมโยง ...ถอย 1 ก้าว มองว่า ทำไป ทำไม....

43 จุดเด่น TQA คำนึงถึงความสำคัญของผู้นำ ลูกค้า และผมสดสส ผลลัพธ์
PDCA ครบวงจรอย่างเชื่อมโยง เน้นการสื่อสารเรียนรู้สู่นวัตกรรม คำนึงถึงความสำคัญของผู้นำ ลูกค้า และผมสดสส ผลลัพธ์

44 มีการกำหนดปรัชญา ปณิธาน
Yes! มีการกำหนดปรัชญา ปณิธาน Yes++! How? ปรัชญา ปณิธานสื่อถึงบริบทขององค์กร ทิศทางองค์กรอย่างไร การมีส่วนร่วมของบุคลากรที่ซึมซับความเข้าใจและพึงพอใจมากกว่าการรับรู้

45 มีระบบการปรับปรุงวิธี การเรียนการสอนและพัฒนา ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
Yes! Yes++! How? ได้ระบบมาอย่างไร แน่ใจว่าระบบนี้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนแต่ละกลุ่มได้อย่างไร

46 มีการจัดบริการแก่นักศึกษาและศิษย์เก่า
Yes! Yes++! How? พิจารณาให้บริการอย่างไร แน่ใจว่าสนองความต้องการของแต่ละกลุ่ม (ตรี/ บัณฑิตศึกษา, ศิษย์เก่ารุ่นเดอะ/ รุ่นเด็ก.....)

47 ผู้บริหารดำเนินการบริหารด้วยหลักธรรมาภิบาลและใช้ศักยภาพภาวะผู้นำที่มีอยู่โดยคำนึงถึงสถาบันและผมสดสส
Yes++! Yes++! How? ท้าทายการคิดที่ต้องสื่อให้ชัดว่าบริหารด้วยหลักธรรมาภิบาลได้อย่างไร ผมสดสส คือใครบ้าง กระบวนการประเมินมาอย่างไร ผลจะส่งให้เกิดการพัฒนาระบบการนำองค์กรอย่างไร

48 มีแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เป็นรูปธรรม
Yes Yes++! How? แผนสอดคล้องกับความท้าทายขององค์กรอย่างไร สมดุลกับความต้องการของบุคลากร รู้ได้ยังไงว่าหลักสูตรตรงความต้องการของบุคลากรและองค์กร (ถ้าต้องการไปสู่สากล สากลคือระดับ??)

49 ผลลัพธ์ Level- เทียบเป้า Trend-3 ปี Comparison-benchmarks
Li- ครอบคลุมกระบวนการหลัก ทุก segments

50 ผลงานวิจัยที่ยอมรับได้ใน
ระดับสากล Yes++! How Yes ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของแผนกลยุทธ์? เลือกกระบวนการอย่างไรให้ไปถึงเป้าที่ตั้ง ผลดีต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปีที่แสดงแนวโน้มที่ดี เทียบกับผลงานวิจัยสากลจากไหน (คู่แข่ง????)

51 คณะเกษตรฯ มช. จะขยับ ยังไงต่อดี
คณะเกษตรฯ มช. จะขยับ ยังไงต่อดี

52 เพราะรู้ว่าเราอยู่จุดไหน ขาดอะไร
ประเมินตนจริงจัง?? ตอบรับกับปัจจัยภายนอก รักษาความเป็นผู้นำ ปรับปรุงผลการดำเนินงาน = อย่างมีระบบ เพราะรู้ว่าเราอยู่จุดไหน ขาดอะไร จะไปถึงไหน

53 ย้อนดูวิสัยทัศน์ คณะเกษตรศาสตร์มุ่งมั่นผลิตบัณฑิต
ด้านวิทยาศาสตร์การเกษตร ที่มีคุณภาพ คุณธรรม และ มีความเป็นเลิศทางวิชาการ

54 ทบทวนการมุ่งไปในทางเดียวกัน กับวิสัยทัศน์ของ มช
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการวิจัย การมีคุณภาพ ความเป็นเลิศทางวิชาการ และ พึ่งพาตนเองได้

55 ประเมินให้รอบ ว่ามีอะไรอยู่แล้วบ้าง
เรารู้จักตัวเองดีพอแค่ไหน--ลำดับ ความสำคัญ - บริการหลัก กลุ่ม ‘ลูกค้า’ ผมสดสส - ระบบความสัมพันธ์ของการบริหาร - ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ การแข่งขัน การ ปรับปรุงผลการดำเนินงาน

56 สำคัญ ไม่สำคัญ เป็น priority ขององค์กร
สภาสถาบันใช้หลักธรรมาภิบาล/แข่งขัน สกอ. สัดส่วนวุฒิอาจารย์ สำคัญ ไม่สำคัญ (ยัง) ไม่เป็น priority ขององค์กร

57 ประเภท ตัวบ่งชี้ เชื่อมกับ ตัวบ่งชี้ ข้อมูลที่ ต้องรู้ ผลที่ ต้องการ
กระบวนการ /เครื่องมือ สำคัญ/เป็น priority ของ องค์กร สภาสถาบันใช้ หลักธรรมาภิ บาล/สามารถ ผลักดัน สถาบันแข่งขัน ระดับสากล ปรัชญา ปณิธาณ ภาวะผู้นำ ตัววัด เป้าหมายของ องค์กร/สู่ บุคคล ระบบ/กลไก HR สัดส่วนวุฒิ อาจารย์ (เรื่อง ที่เกี่ยวกับ อจ.?) นักศึกษา วิสัยทัศน์ ข้อมูล/ระเบียบ โครงสร้างการ บริหาร/ ความสัมพันธ์ ระบบการสื่อสาร การ เปรียบเทียบ/ แข่งขัน/position ?

58 ประเภท ตัวบ่งชี้ เชื่อมกับ ตัวบ่งชี้ ข้อมูลที่ ต้องรู้ ? ผลที่ ต้องการ
กระบวนการ /เครื่องมือ สำคัญ/เป็น priority ของ องค์กร สัดส่วนวุฒิ อาจารย์ ปรัชญา ปณิธาณ ภาวะผู้นำ ตัววัด เป้าหมายของ องค์กร/สู่ บุคคล ระบบ/กลไก HR สภาสถาบันใช้ หลักธรรมาภิ บาล/สามารถ ผลักดัน สถาบันแข่งขัน ระดับสากล จำนวน อจ./วุฒิ ในปัจจุบัน วิสัยทัศน์ ระเบียบ โครงสร้างการ บริหาร/ ความสัมพันธ์ ระบบการสื่อสาร การ เปรียบเทียบ/ แข่งขัน/position ?

59 หนังตัวอย่างที่อาจฉายต่อได้
โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การวางแผนเชิงกลยุทธ์ . เน้น workforce 1.1/8.2 2.2/ การนำองค์กร ผลลัพธ์ 1.1/2.7/5.2/ 6.1/7.1 1.2/2.9/4.5 มุ่งเน้นลูกค้าผมสดสส&ตลาด การจัดการกระบวนการ /4.1 /3.1/5.4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.2/7.3/7.5

60 OP บริบทขององค์กร สำคัญ ไม่สำคัญ เป็น priority ขององค์กร
สภาสถาบันใช้หลักธรรมาภิบาล/แข่งขัน สกอ. สัดส่วนวุฒิอาจารย์ OP บริบทขององค์กร สำคัญ ไม่สำคัญ (ยัง) ไม่เป็น priority ขององค์กร

61 โครงร่างองค์กร Org’al Profile (OP)
มองตัวเองโดยรอบให้ได้ลำดับ ความสำคัญ ดูตน/ความสัมพันธ์/ความท้าทาย คือบริบทที่เป็นเอกลักษณ์ สอดรับกับมหาวิทยาลัย

62 ท้าทายพลังความคิด/สามัคคีลองและสนุก

63 คุณภาพที่แท้จริง

64 วัตถุประสงค์ รู้และเข้าใจระดับต้นเรื่องเกณฑ์ TQA
เห็น TQA เป็นเรื่องเดียวกับ QA กระตุ้น‘ต่อมอยากรู้’เกณฑ์ TQA เพิ่ม กระตุกใจให้ท้าทายการต่อยอดงาน QA ลองขยับสู่การเขียนโครงร่างองค์กร

65 ถาม-ตอบ


ดาวน์โหลด ppt คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google