ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถานการณ์การเงินการคลัง
หน่วยบริการในจังหวัดสตูล ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2556
2
ระดับวิกฤติทางการเงิน
หน่วยบริการ ก.ย.55 ก.ย.56 รพท.สตูล 1 รพช.ควนโดน รพช.ควนกาหลง 7 2 รพช.ท่าแพ รพช.ละงู 3 รพช.ทุ่งหว้า
3
ผลการดำเนินงาน ณ 30 กันยายน 2556
ผลการดำเนินงาน ณ 30 กันยายน 2556 (ล้านบาท) ภาพรวม กำไร 50.41
4
ทุนสำรองสุทธิ (ล้านบาท) ภาพรวม 126.95
5
เงินบำรุงคงเหลือ (ไม่รวมงบลงทุน)
(ล้านบาท) ภาพรวม 106.56
6
แนวโน้มเงินบำรุงคงเหลือ(ไม่รวมงบลงทุน) ตั้งแต่ปี 2550-2556
7
แนวโน้มเงินบำรุงคงเหลือ(ไม่รวมงบลงทุน) ตั้งแต่ปี 2550-2556
8
หนี้สินที่ต้องชำระ (ไม่รวมงบลงทุน)
(ล้านบาท) ภาพรวม 159.05
9
ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ
รพท.สตูล วิกฤติระดับ ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ Cash Ratio (เกณฑ์ปกติ 0.8 เท่า) Cash Ratio = เงินสดและเทียบเท่าเงินสด หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน ไตรมาส 1/56 ไตรมาส 2/56 ไตรมาส 3/56 ไตรมาส 4/56 เงินสดและเทียบเท่าเงินสด 112.38 116.89 93.06 62.04 หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน 122.02 127.44 73.15 96.66 Cash Ratio 0.92 1.27 0.64
10
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Cash Ratio
จากงบการเงิน หนี้สินที่เพิ่มขึ้นได้แก่ เจ้าหนี้วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ข้อสังเกต รพ.สตูล ควรตรวจสอบและควบคุมให้เป็นไปตามนโยบายกระทรวงฯ)
11
ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ
รพช.ควนกาหลง วิกฤติระดับ ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ Current Ratio และ Cash Ratio 1. Current Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน เกณฑ์ปกติ เท่า หนี้สินหมุนเวียน ไตรมาส 1/56 ไตรมาส 2/56 ไตรมาส 3/56 ไตรมาส 4/56 สินทรัพย์หมุนเวียน 28.66 24.06 18.27 22.63 หนี้สินหมุนเวียน 39.89 31.01 21.06 17.52 Current Ratio 0.72 0.78 0.87 1.29
12
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Current Ratio
จากกราฟ สินทรัพย์หมุนเวียน มีแนวโน้มสูงขึ้นในไตรมาส 4 แต่นี้สินหมุนเวียนมีแนวโน้มลดลงมาตลอด ซึ่งถือว่าเป็นแนวโน้มที่ดี (ควรติดตามกำกับดูแล ให้ดีขึ้นเรื่อยๆ โดย เน้นเรื่องการจัดเก็บสินค้าคงคลัง ให้เพียงพอต่อการใช้ ไม่มากหรือน้อยเกินไป)
13
2. Cash Ratio = เงินสดและเทียบเท่าเงินสด เกณฑ์ปกติ 0.8 เท่า
หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน ไตรมาส 1/56 ไตรมาส 2/56 ไตรมาส 3/56 ไตรมาส 4/56 เงินสดและเทียบเท่าเงินสด 9.54 4.45 4.31 12.37 หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน 30.62 23.05 14.85 17.49 Cash Ratio 0.31 0.19 0.29 0.71
14
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Cash Ratio
15
ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ
รพช.ท่าแพ วิกฤติระดับ ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ NI (กำไรสุทธิ) เกณฑ์ปกติจะต้องไม่ติดลบ ปี 54 ปี 55 ปี 56 รายรับ 57.35 62.88 69.53 รายจ่าย 53.95 57.10 71.70 NI 3.40 5.78 -2.17
16
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด NI
จากงบการเงิน ด้านรายได้ ส่วนใหญ่จะใกล้เคียงกัน ที่แตกต่างจะเป็นส่วนที่ได้รับเงินงบประมาณจาก สสจ.เพื่อช่วยเหลือในการดำเนินงาน(ค่ายา) ด้านรายจ่าย ที่เพิ่มขึ้นได้แก่ วัสดุการแพทย์ วัสดุทั่วไป และค่าตอบแทน (ข้อสังเกต : ค่าใช้จ่ายมีแนวโน้มสูงขึ้นควรมีการกำหนดมาตรการควบคุมในระดับหน่วยบริการ
17
ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตจากตัวชี้วัดระดับวิกฤติ
รพช.ละงู วิกฤติระดับ ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านคือ Current Ratio ,Cash Ratio และ NI (กำไรสุทธิ) 1. Current Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน เกณฑ์ปกติ เท่า หนี้สินหมุนเวียน ไตรมาส 1/56 ไตรมาส 2/56 ไตรมาส 3/56 ไตรมาส 4/56 สินทรัพย์หมุนเวียน 36.83 24.88 20.10 23.16 หนี้สินหมุนเวียน 34.83 30.96 23.62 20.96 Current Ratio 1.06 0.80 0.85 1.11
18
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด CR
19
2. Quick Ratio = เงินสดและลูกหนี้ เกณฑ์ปกติ 1.0 เท่า
หนี้สินที่หมุนเวียน ไตรมาส 1/56 ไตรมาส 2/56 ไตรมาส 3/56 ไตรมาส 4/56 เงินสดและลูกหนี้ 33.81 21.72 17.25 20.85 หนี้สินหมุนเวียน 34.83 30.96 23.62 20.96 Quick Ratio 0.97 0.70 0.73 0.99
20
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด QR
21
2. Cash Ratio = เงินสดและเทียบเท่าเงินสด เกณฑ์ปกติ 0.8 เท่า
หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน ไตรมาส 1/56 ไตรมาส 2/56 ไตรมาส 3/56 ไตรมาส 4/56 เงินสดและเทียบเท่าเงินสด 25.47 10.61 12.16 12.41 หนี้สินที่ต้องชำระด้วยเงิน 23.81 19.95 12.29 20.78 Cash Ratio 1.07 0.53 0.99 0.60
22
แนวโน้มตัวแปรในตัวชี้วัด Cash Ratio
จากกราฟ จะเห็นว่าใน ไตรมาสที่ 4 หนี้สินมีจำนวนเพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่มากพอสมควร ในขณะที่เงินคงเหลือมีจำนวนใกล้เคียงกับไตรมาสก่อน และจากงบการเงิน หนี้สินที่เพิ่มขึ้น คือ เจ้าหนี้ค่ายา และเจ้าหนี้วัสดุการแพทย์ เป็นข้อสังเกตว่า ในขณะที่ รพ.มีเงินเท่าเดิม แต่ รพ.ได้มีการตั้งหนี้เพิ่มขึ้นจำนวนมาก โดยที่เป็นข้อสังเกตว่า ได้มีการจัดซื้อเป็นไปตามแผนหรือไม่ และตรวจสอบการจัดซื้อ และการสต๊อกวัสดุต่างๆ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.