ทำไม! สบพ. ต้องมีระบบประเมินผลการดำเนินงานองค์กร ?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทบทวนระบบการควบคุมภายใน
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทำไม! สบพ. ต้องมีระบบประเมินผลการดำเนินงานองค์กร ? ระบบประเมินผลเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นประสิทธิภาพในการดำเนินงาน **ที่มาของระบบประเมินผล สบพ. เริ่มเข้าสู่ระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2548 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยการกำกับดูแลควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง และมีบริษัท ไทยเรทติ้งแอนด์อินฟอร์เมชั่นเซอร์วิส จำกัด (TRIS) เป็นที่ปรึกษาระบบประเมินผล ประโยชน์ของระบบประเมินผล เพื่อติดตาม กำกับดูแลประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กร เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรให้มีมาตรฐานสากล สามารถแข่งขันกับคู่แข่งที่มีธุรกิจเดี่ยวกันในตลาดโลกได้ เพื่อให้องค์กรมีความพร้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ เพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุผลการดำเนินงานตามที่คาดหวัง

หลักการของระบบประเมินผล 1. นำนโยบายของรัฐบาลมาช่วยผลักดันการปรับปรุงประสิทธิภาพ การดำเนินงานขององค์กร 2. ทำให้องค์กรทราบถึงระดับความสามารถในการแข่งขัน 3. มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน โดยคณะกรรมการสบพ. เป็นผู้รับผิดชอบ 4. มุ่งเน้นการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานขององค์กร โดยฝ่ายบริหาร 5. ใช้แผนธุรกิจ/แผนกลยุทธ์/แผนวิสาหกิจเป็นเครื่องมือในการกำหนด เป้าหมาย ประเมินผล และติดตามผลการดำเนินงาน 6. การกำหนดตัวชี้วัดหลัก ที่สะท้อนผลการดำเนินงาน 7. เป็นการประสานงานระหว่างกระทรวงเจ้าสังกัด (กระทรวงคมนาคม เจ้าสังกัดของ สบพ.)ที่ปรึกษาการประเมินผล(บ. TRIS) และสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สคร.(กระทรวงการคลัง) +

แนวทางของระบบประเมินผล ปี 2551 ยุทธศาสตร์ /ทิศทางของประเทศ นโยบายเปิดน่านฟ้าเสรี เปิดเขตการค้าเสรีและส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย ส่งผลให้อุตสาหกรรมการบินของไทยเติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้ความต้อง บุคลากรด้านการบินเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ /ทิศทางของกระทรวงคมนาคม พัฒนาและฝึกอบรมทางวิชาการแก่บุคลากรด้านการบินตามความต้องการของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค ให้เจริญก้าวหน้าทันกับเทคโลยีสมัยใหม่ และได้มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ /ทิศทางของ สบพ. Vision(วิสัยทัศน์) เป็นศูนย์กลางแห่งความเป็นเลิศด้านวิชาชีพในอุตสาหกรรมการบินของชาติและ ภูมิภาค โดยเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ที่มีบุคลากรคุณภาพระดับมาตรฐานสากล Mission(ภารกิจ) - ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านอุตสาหกรรมการบินให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลอย่างเพียงพอต่อ ความต้องการภายในประเทศและสอดคล้องกับความต้องการของภูมิภาค - ศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอุตฯการบิน เผยแพร่ความรู้ ให้คำปรึกษาและเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการแข่งขันของระบบขนส่งทางอากาศของไทยในภูมิภาค - เพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการซ่อมบำรุงอากาศยาน - ให้บริการอากาศยานและสร้างบริการใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตฯการบินเพื่อฝึกทักษะการปฏิบัติ งานจริงให้กับนศ. และให้บริการกับหน่วยงานภายนอก กลยุทธ์หลัก : การสร้างความแตกต่าง โดยเน้นความ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของหลักสูตรและจัดการเรียน การสอน ซึ่งแตกต่างจากสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตัวชี้วัด

วิธีการและขั้นตอนในการดำเนินการระบบประเมินผล 1. เสนอแผนรัฐวิสาหกิจ แผนกลยุทธ์ แผนธุรกิจต่อ สคร. โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสบพ. และกระทรวงคมนาคมที่ สบพ. สังกัด เพื่อกำหนดตัวชี้วัด 2. จัดทำบันทึกข้อตกลงการประเมินผลการดำเนินงาน 3. คณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจเป็นผู้กำกับดูแลให้รัฐวิสาหกิจดำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายที่จัดทำบันทึก 4. กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจตามตัวชี้วัด 5. รายงานผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจประจำปีงบประมาณทุก 6 เดือน ในกรอบที่ 1 การดำเนินงานตามนโยบาย และกรอบที่ 2 ผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ และรายปีในกรอบที่ 1, 2 และ-3 การบริหารจัดการองค์กร **ที่มาของระบบประเมินผล สบพ. เริ่มเข้าสู่ระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2548 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยการกำกับดูแลควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ประโยชน์ของระบบประเมินผล เพื่อติดตาม กำกับดูแลประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กร เพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรให้มีมาตรฐานสากล สามารถแข่งขันกับคู่แข่งที่มีธุรกิจเดี่ยวกันในตลาดโลกได้ เพื่อให้องค์กรมีความพร้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้

เกณฑ์การวัดผลการดำเนินงาน การกำหนดตัวชี้วัดของ สบพ. จะพิจารณาจากวิสัยทัศน์ ภารกิจหลัก นโยบาย แผนกลยุทธ์ที่สำคัญขององค์กร และทิศทางที่สำคัญของภาครัฐ (Shareholder’s direction) ทั้งนี้ เพื่อวัดประสิทธิภาพการดำเนินงาน 3 ด้านหลัก 1. การดำเนินงานตามนโยบาย น้ำหนักร้อยละ 20 2. ผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ น้ำหนักร้อยละ 50 2.1 Financial ตัวชี้วัดทางการเงิน 2.2 Non-Financial ตัวชี้วัดที่ไม่ใช่ทางการเงิน ปี 2551 มี 4 ตัว 1. EBIDA 2. ค่าใช้จ่ายพนง.ต่อรายได้รวม 3. อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม 4. การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ (EP) 3. การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน น้ำหนักร้อยละ 30 3.1 บทบาทคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ 3.2 การบริหารความเสี่ยง 3.3 การควบคุมและตรวจสอบภายใน 3.4 การบริหารจัดการสารสนเทศ 3.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล

3.1 บทบาทคณะกรรมการ การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลที่ดีและสนับสนุนให้คณะกรรมการปฏิบัติ งานตามหน้าที่ความรับผิดชอบให้ครบถ้วนและมีประสิทธิผล เพื่อส่งเสริมความสำคัญต่อการส่งเสริมความรู้ความสามารถของคณก.ในรูปแบบ ต่างๆ และคณก.สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น เช่น การเข้ารับการอบรม สัมมนา ดูงาน รวมถึงการประเมินและการประเมินตนเองของคณก. เกณฑ์การประเมินผล 1. บทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ ร้อยละ 85 1.1 การกำหนดให้มีแผน ทิศทาง กลยุทธ์ นโยบายและเป้าหมายที่สำคัญ 1.2 การติดตามและทบทวนความเพียงพอ ของระบบงานที่สำคัญ 1.3 การดูแลติดตามผลการดำเนินงาน 1.4 การประเมินผลงานของผู้บริหารระดับสูง 1.5 การประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ 1.6 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส เกณฑ์การประเมินผล 2. การพัฒนาตนเอง ร้อยละ 15 2.1 การประเมินตนเองของคณก. 2.2 การส่งเสริมความรู้ ความสามารถ

การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน 3.2 การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง คือ ความไม่แน่ นอนที่อาจจะนำไปสู่ความสูญเสีย ระดับที่ 5 การปลูกฝังให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่นำไปสู่การสร้างสรรค์มูลค่าให้แก่องค์กร (Value Creation) กระบวนการบริหารความเสี่ยงเป็นกิจกรรมประจำวันของทุกหน่วยงาน และสัมพันธ์กับผลตอบแทน/ความดีความชอบ การบริหาร ITG ที่ดีตามเป้าหมายที่กำหนด การบริหารความเสี่ยงเป็นการสนับสนุนการบริหารเพื่อสร้างสรรค์มูลค่าให้กับองค์กร (การวัดระดับการบริหารความเสี่ยง) เกณฑ์การประเมินผล ระดับที่ 4 การบริหารความเสี่ยงที่สร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กร มีกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงที่เชื่อมโยงกับการกำหนดนโยบาย/กลยุทธ์/การวางแผน/การลงทุน มีการสนับสนุนการบริหารความเสี่ยงเพื่อเพิ่มมูลค่าองค์กร มีการทบทวนและปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ มีการบริหาร ITG ที่ดี ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงดีกว่าแผนการบริหารความเสี่ยง ระดับที่ 3 เชื่อมโยงและบูรณาการความเสี่ยงกับ ITG มีการกำหนด Risk Appetite และ Risk Tolerance โดยครอบคลุมความเสี่ยงที่เป็น S-O-F-C และต้อง สอดคล้องกับเป้าหมาย มีการบริหารความเสี่ยงที่เป็นกลยุทธ์หรือการดำเนินงานที่ต่อเนื่องทั้งองค์กร มีการบริหาร ITG ที่ดี ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงเป็นไปตามแผนการบริหารความเสี่ยง ระดับที่ 2 การบริหารความเสี่ยงเบื้องต้นที่มีระบบ มีการบริหารเป็นกลยุทธระยะสั้น มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงแยกออกเป็นส่วนๆ จัดทำคู่มือบริหารความเสี่ยงมีคุณสมบัติที่ดีครบถ้วน ผลการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริงด้อยกว่าแผนและไม่ต่างจากอดีต ระดับที่ 1 การบริหารความเสี่ยงน้อยมาก มีแนวทางการบริหารความเสี่ยงในเชิงรับ/ในระดับต้นและยังไม่เป็นระบบ ไม่มีคณะทำงานเพื่อจัดการความเสี่ยงในรูปแบบบูรณาการ ไม่มีคู่มือการบริหารความเสี่ยง

การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน หลักเกณฑ์การประเมินผล 3.3 การควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน หลักเกณฑ์การประเมินผล ตรวจสอบภายใน * สภาพแวดล้อมของการควบคุม ร้อยละ 20 - มีระบบการควบคุมตรวจสอบที่เกี่ยวกับการกระทำที่ไม่เป็นตามกฎระเบียบ การทำรายงานสรุปผล - การมอบอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ควรมีการสอบทานกลับอย่างสม่ำเสมอ * การประเมินความเสี่ยง (ประเมินในหัวข้อการบริหารความเสี่ยง) * กิจกรรมการควบคุม ร้อยละ 18 - การสอบทานรายงาน ทางการเงินและมิใช่การเงิน - การดูแลป้องกันทรัพย์สินที่รัดกุม - การทำคู่มือระบบควบคุมภายใน และต้องมีการทบทวนคู่มือ ให้มีการปฏิบัติตามคู่มือ - การควบคุมระบบสารสนเทศ เช่น การควบคุมการประมวลผล การสอบทานผลลัพธ์ ซึ่งมีผลต่อความน่าเชื่อถือของรายงาน * สารสนเทศและการสื่อสาร(ประเมินในหัวข้อการบริหารจัดการสารสนเทศ) * การติดตามประเมินผล ร้อยละ 12 - มีการติดตามผลการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน - มีการบูรณาการการควบคุมภายในกับการบริหารความเสี่ยงและตรวจสอบภายใน ในปีต่อๆไป แนวทางปฏิบัติด้าน องค์กร 23% แนวทางปฏิบัติด้าน ปฏิบัติงาน 27% การวางแผนเชิง กลยุทธ์ 7% บทบาทและความรับผิด ชอบของหน่วยตรวจสอบ5% ความเป็นอิสระ 5% การวางแผนในรายละ เอียดและการปฏิบัติ งานตรวจสอบ 5% ความสัมพันธ์กับ คณก. ตรวจสอบ 3% การรายงานและการ ปิดการตรวจสอบ 5% ความสัมพันธ์ของตรวจ สอบภายในกับฝ่ายบริหาร และผู้สอบบัญชี 5% ความเชื่อมั่นใน คุณภาพ 5% การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ ระมัดระวังรอบคอบ 5% บุคลากร การพัฒนา และการฝึกอบรม 5%

3.4 การบริหารจัดการสารสนเทศ การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน 3.4 การบริหารจัดการสารสนเทศ หลักเกณฑ์การประเมินผล แผนแม่บทสารสนเทศ ร้อยละ 10 1 การบริหารจัดการสารสนเทศ ร้อยละ 90 2 2.1 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารจัดการของรัฐวิสาหกิจ 2.2 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง 2.3 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการควบคุมและการตรวจสอบภายใน 2.4 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.5 ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดำเนินงานตาม พรก.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล 2.6 ระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อความต้องการภายในและภายนอกรัฐวิสาหกิจ

3.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารจัดการองค์กร 5 ด้าน 3.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล หลักเกณฑ์การประเมินผล 3 โครงสร้างพื้นฐาน 40% 3.1ช่องทางการสื่อสารและแรงงานสัมพันธ์ 8 % 3.2 หลักปฏิบัติและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 8% 3.3 ระบบสารสนเทศด้าน HR 8% 3.4 ความปลอดภัย สุขอนามัยและสภาพแวดล้อม 6% 3.5 การเพิ่มศักยภาพด้านการบริหาร HR 10% 1 นโยบายและกลยุทธ์ด้าน HR 20% 2 ระบบบริหารและพัฒนา HR 40% ระบบการบริหาร HR 30% 2.1 การสรรหาและจัดการอัตรากำลัง 10 % 2.2 การบริหารผลตอบแทนและสิทธิประโยชน์ 10% ระบบในการพัฒนา HR 10% 2.3 การวัดและประเมินผลการดำเนินงาน 10% 2.4 การวัดและประเมินผลการดำเนินงาน 10%