การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Advertisements

ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
S OFTWARE จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ สุขมิลินท์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3.
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เนื่องจากในปัจจุบันโลกของเรา พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มี หลากหลายชนิดหลากหลายแบบและมีการทำมาเพาะปลูกทั้ง การเพาะปลูกเพื่อบริโภค การเพาะปลูกเพื่อความสวยงาม.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การออกแบบและเทคโนโลยี
copyright All Rights Reserved
รายวิชา อัลกอริทึมและการเขียนโปรแกรม (Algorithm and Programming)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ภาษาคอมพิวเตอร์ อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic language).
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
อัลกอริทึม (Algorithm) และ การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
+ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ Hardware
การเขียนโปรแกรมร่วมสมัย
Basic Input Output System
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
V ระบบการจัดการฐานข้อมูล บทที่ 2 วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC : System Development Life Cycle) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
กลุ่มหลักสูตร กลุ่มหลักสูตรที่ 1 : พัฒนาความรู้
ผู้สอน อาจารย์ สายฝน เชียงสา
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ครูผู้สอน : ครูสาวินี บุตรดี

ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง สัญลักษณ์ที่ผู้คิดพัฒนาภาษากำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนคำสั่งสื่อสารสั่งงาน ระหว่างมนุษย์กับเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ

ภาษาคอมพิวเตอร์มีมากมาย ABC, Ada, ADL, Algol 60, Algol 68, APL, AppleScript@, Assembly, Awk, BASIC, Befunge, BETA, Bigwig, Bistro@, Blue, Brainfuck, C, C++, Caml@, Cecil, CHILL, Clarion, Clean, Clipper, CLU, Cobol, CobolScript, Cocoa, Component Pascal@, C-sharp, Curl, D, DATABUS, Delphi, DOS Batch@, Dylan, E, Eiffel, ElastiC, Erlang, Euphoria, Forth, Fortran, Fortress, FP, Frontier, Goedel, Groovy@, Haskell, HTML@, HTMLScript@, HyperCard@, ICI, Icon, IDL, Intercal, Io, Jal@, Java, JavaScript, Jovial, LabVIEW, Lagoona@, LaTeX@, Leda, Limbo, Lisp, Logo@, Lua, m4, Maple@, Mathematica@, MATLAB@, Mercury, Miranda, Miva, ML, Modula-2, Modula-3, Moto, Oberon, Objective Caml@, Objective-C, Obliq, Occam, Oz, Pascal, Perl, PHP, Pike, PL, Pliant, PL-SQL, POP-11, PostScript@, PowerBuilder@, Prograph, Prolog, Proteus, Python, R@, REBOL, Refal, Rexx, Rigal, RPG, Ruby, SAS, Sather, Scheme@, Self@, SETL, SGML@, Simkin, Simula, Sisal, S-Lang, Smalltalk, Snobol, SQL, Squeak@, Tcl-Tk, Tempo, TeX@, TOM, TRAC, Transcript, Turing, T3X, UML@, VBScript@, Verilog@, VHDL@, Visual Basic, Visual DialogScript, Visual FoxPro, Water, XML@, XOTcl@, YAFL, Yorick, Z

ภาษาคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ยุคคือ 1. ภาษาเครื่อง (Machine language) 2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) 3. ภาษาชั้นสูง (High-level language)หรือ ภาษา รุ่นที่ 3 (3GL:Third Generation Language) 4. ภาษาชั้นสูงมาก (Very high-level language) หรือภาษารุ่นที่ 4 (4GL) 5. ภาษาธรรมชาติ (Natural language) หรือภาษา รุ่นที่ 5 (5GL)

1. ภาษาเครื่อง (Machine language) เป็นภาษาพื้นฐานที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ แต่ละคำสั่งประกอบขึ้นจากกลุ่มตัวเลข 0 และ 1 ซึ่งเป็นเลขฐานสอง

2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เป็นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ข้อความ แทนกลุ่มของตัวเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจำมากขึ้น การทำงานของโปรแกรมจะต้องทำการแปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง โดยใช้ตัวแปลที่เรียกว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler)

3. ภาษาชั้นสูง (High-level language) หรือภาษารุ่นที่ 3 (3GL:Third Generation Language) ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น โดยมีลักษณะเหมือนกับภาษาอังกฤษทั่วไป ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับฮาร์แวร์แต่อย่างใด ภาษานี้จำเป็นต้องมีตัวแปลภาษาเครื่องเช่นกัน เรียกตัวแปลนี้ว่า คอมไพเลอร์ (compiler) หรือ อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) อย่างใดอย่างหนึ่ง ตัวอย่างของภาษาชั้นสูง เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษโคบอล ภาษาเบสิก ภาษาฟอร์แทรน

4. ภาษาชั้นสูงมาก (Very high-level language)หรือภาษารุ่นที่ 4 (4GL) เป็นภาษาที่มีลักษณะคล้ายภาษาพูดตามปกติของมนุษย์ ภาษานี้จะช่วยให้การเขียนโปรแกรมเร็วมากขึ้นกว่าภาษาในรุ่นที่ 3 เนื่องจากมีเครื่องมือที่ช่วยในการสร้างแบบฟอร์มหน้าจอ เพื่อจัดการกับข้อมูลรวมไปถึงการออกรายงาน เมนูต่าง ๆ ตัวอย่างของภาษาชั้นสูงมากได้แก่ informix-4GL, MAGIC , Delphi , Power Builder ฯลฯ

5. ภาษาธรรมชาติ (Natural language) หรือภาษารุ่นที่ 5 (5GL) เป็นภาษาที่สามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์โดยใช้รูปแบบของภาษามนุษย์ได้เลย คำสั่งอยู่ในรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์จะทำการแปลให้ออกมาในรูปที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ภาษานี้ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert system) ตัวอย่างภาษาในรุ่นที่ 5 ได้แก่ ภาษา PROLOG เป็นต้น

ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ปัญหา (Problem analysis) การออกแบบโปรแกรม (Design) การเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาใดภาษาหนึ่ง (Coding) การตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Testing and Debugging ) การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม (Testing and validating) การทำเอกสารประกอบโปรแกรม (Documentation) การบำรุงรักษาโปรแกรม (Program Maintenance)

การวิเคราะห์ปัญหา สิ่งที่ต้องพิจารณา Input ? (พิจารณาจาก Output) Process (ยังไม่ต้องสนใจตอนนี้) Process Input Output 1 2 3

แนวความคิดเบื้องต้นการวิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์ผลลัพธ์ วิเคราะห์ Input Process เขียนขั้นตอนการแก้ปัญหา

การออกแบบโปรแกรม เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบ ผังงาน (Flowchart) ขั้นตอนการแก้ปัญหาทีละขั้นตอนในลักษณะรูปภาพ รหัสจำลอง (Pseudo) รูปแบบเป็นภาษาพูดง่าย ๆ ภาษาอังกฤษ หรือภาษาไทยก็ได้

การพัฒนาอัลกอริธึม ข้อดีของรหัสเทียม (จำลอง) แปลงเป็นโปรแกรมได้ง่าย ข้อดีของผังงาน อ่านง่าย เข้าใจตรงกันได้