ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์สินค้าเกษตร (การวางแผนและการบริหารจัดการ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
Logistics and Supply Chain Management. การจัดการโลจิสติกส์ กระบวนการจัดการ การเคลื่อนย้าย และจัดเก็บจากผู้ขายวัตถุดิบไปยัง ผู้บริโภคสุดท้าย การวางแผนการปฏิบัติงาน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รายชื่อกลุ่ม 1.น.ส.อริศรา มีตัน ปวส. 2/6 รหัส น.ส.พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ ปวส. 2/6 รหัส น.ส.ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค ปวส. 2/6 รหัส
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปการตลาดระดับโลก
วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) งานของวิศวกรอุตสาหการครอบคลุมตั้งแต่การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการระบบข้อมูล การควบคุมการใช้พลังงาน.
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
การวางแผนกำลังการผลิต
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
Supply Chain Logistics
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์สินค้าเกษตร (การวางแผนและการบริหารจัดการ) รองศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญศรี เจริญวานิช ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนากลยุทธ์ธุรกิจ และหัวหน้ากลุ่มวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การจัดการโซ่อุปทาน ? โซ่อุปทาน (Supply Chain) องค์กร / หน่วยงาน / กิจกรรม จากต้นน้ำถึงปลายน้ำ

โซ่อุปทาน (Supply Chain)     โซ่อุปทาน (Supply Chain) หรือ เครือข่ายลอจิสติกส์ คือ การใช้ระบบของหน่วยงาน คน เทคโนโลยี กิจกรรม ข้อมูลข่าวสาร และทรัพยากร มาประยุกต์เข้าด้วยกัน เพื่อการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือบริการ จากผู้จัดหาไปยังลูกค้า กิจกรรมของโซ่อุปทาน (Supply Chain) จะแปรสภาพทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ และวัสดุอื่นๆให้กลายเป็นสินค้าสำเร็จ แล้วส่งไปจนถึงลูกค้าคนสุดท้าย (ผู้บริโภค หรือ End Customer)

ภาพรวมของโลจิสติกส์ทางธุรกิจในการจัดการซัพพลายเชน Physical Distribution customers consumers Distribution Center CDC Retail Outlets Materials Management วัตถุดิบ Farms Produce Components Suppliers ชิ้นส่วน Manufacturer Wholesaler Regional RDC Distributors Concessionaire

Logistics ? การเคลื่อนย้ายวัสดุ (Material) หรือ ข้อมูล (Information) เป็นส่วนหนึ่งของ Supply Chain

“การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management)” (ที่มา: http://www.logisticsadviser.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538773618)

เป้าหมายของการจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ถูก เร็ว ดี

การเรียงลำดับส่วนประกอบของโซ่อุปทาน จากอัปสตรีมไปยังดาวน์สตรีม 1)      ผู้จัดจ่ายวัตถุดิบ/ส่วนประกอบ (Raw Material/ component suppliers) 2)      ผู้ผลิต (Manufacturers) 3)      ผู้ค้าส่ง/ผู้กระจายสินค้า (Wholesalers/distributors) 4)      ผู้ค้าปลีก (Retailers) 5)      ผู้บริโภค (Customer)

บริษัท ส่งผักสดจากไทยไปลอนดอน เงื่อนไข: ผักจากไร่ในไทยไปถึงซุปเปอร์มาร์เกตในลอนดอน ต้องไม่เกิน 60 ชม.

รูปแบบการจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ Transporter รถตู้เย็น (7.00 am.) Farm (6.00 am.) Collector (7.00 am.) Factory (8-10 am.) Transporter (3.00 pm.) Retailer ใน London (9.00 am.) สุวรรณภูมิ (5.00 pm.) สนามบิน London (6.00 am.) พิธีการนำเข้า (7-8 am.) เครื่องออก (11.00 pm.) พิธีการส่งออก (7.00 pm.)

ต้องจัดการอะไรบ้าง ? สิ่งอำนวยความสะดวก (Facility) เช่น อุปกรณ์การเก็บเกี่ยว แรงงาน รถห้องเย็น คลังสินค้า ที่บรรจุ และ เครื่องบิน เป็นต้น สินค้าคงคลัง (Inventory) เช่น ปริมาณการเพาะปลูก ปริมาณการเก็บเกี่ยว และคุณภาพของผัก เป็นต้น การขนส่ง (Transportation) เช่น วิธีการขนส่ง รูปแบบการขนส่ง และเส้นทางการขนส่ง เป็นต้น ข้อมูลข่าวสาร (Information) เช่น ข้อมูลการเพาะปลูก ข้อมูลการส่งออก ตารางการเก็บเกี่ยว ตารางสายการบิน และกฎระเบียบต่างๆ เป็นต้น

ระบบโซ่อุปทานจะเกี่ยวข้องกับการจัดการ 6 ด้าน 1. ด้านการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก (Facility management) 2. ด้านการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory management) 3. ด้านการจัดการการขนส่ง (Transportation management) 4. ด้านการจัดข้อมูลสารสนเทศ (Information management) 5. ด้านการจัดการแหล่งผลิต (Sourcing management) 6. ด้านการจัดการด้านราคา (Pricing management)

ด้านการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก (Facility management) การจัดการสิ่งที่เอื้ออำนวยต่อระบบโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ เช่น ระบบสาธารณูปโภค คลังสินค้า ศูนย์การกระจายสินค้า เครื่องจักรและอุปกรณ์ และอุปกรณ์ในการขนถ่าย เป็นต้น

ด้านการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory management) การจัดการรูปแบบของสินค้าคงคลังทั้งที่เป็นวัตถุดิบหรือสินค้าสำเร็จรูป รวมไปถึงการวางแผนการเพาะปลูก แผนการเก็บเกี่ยว เพื่อให้เหมาะสมทั้งในด้านต้นทุนและความสามารถในการสนองตอบต่อความต้องการของลูกค้า

ด้านการจัดการการขนส่ง (Transportation management) การเลือกวิธีการขนส่ง และการเลือกเส้นทางการขนส่ง

วิธีการขนส่ง รถ เรือ ท่อ อากาศ ระบบราง อิเลคทรอนิกส์

ด้านการจัดข้อมูลสารสนเทศ (Information management) ข้อมูล ข่าวสาร หรือเอกสาร เช่น ข้อมูลการพยากรณ์ความต้องการสินค้า และการแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งการจัดการข้อมูลที่ดีทำให้เกิดการวางแผนการเพาะปลูก การเพาะเลี้ยง การเก็บเกี่ยว การผลิต การจัดการการขนส่งที่มีประสิทธิภาพได้

Logistics Information การจัดซื้อ กลยุทธ์ กำลังการผลิต การผลิต การพยากรณ์ สินค้าคงคลัง การสั่งซื้อ การกระจายสินค้า การขนส่ง

อะไรที่จะทำให้เกิดการได้มาซึ่ง Information ? Customer Relationship Management ( CRM) Supplier Relationship Management (SRM) Internal Supply Chain Management (ISCM) Partnership in Supply Chain ( การเป็นพันธมิตรร่วมกันในโซ่อุปทาน )

ด้านการจัดการเครือข่ายการกระจายสินค้า (Distribution network management) รูปแบบของเครือข่ายการกระจายสินค้าจะมีส่วนช่วยให้การกระจายตัวของสินค้าและผลิตภัณฑ์เป็นไปอย่างรวดเร็วภายใต้ต้นทุนที่เหมาะสม

ปัจจัยในการพิจารณาการกระจายสินค้า ความเร็วของการตอบสนอง (Responsiveness) ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ (Product Variety) อัตราการบริการลูกค้า ( Product Availability) ความสามารถในการตรวจสอบย้อนกลับ (Order Visibility) ความยาก-ง่ายต่อการได้มาซึ่งสินค้า ( Customer Experience)

กลยุทธ์การจัดการโซ่อุปทาน กลยุทธ์ด้านต้นทุน (Efficiency supply chain strategy) ทำอย่างไรให้ต้นทุนถูกที่สุด กลยุทธ์ด้านการตอบสนองต่อความต้องการลูกค้า (Responsiveness Supply Chain Strategy) ทำอย่างไรจึงจะเร็วและสนองความต้องการลูกค้า 2 กลยุทธ์นี้มักไม่ไปด้วยกัน ต้องเลือกอันใดอันหนึ่ง

Integrated Logistics Order Processing Facility Inventory Network Warehousing Material Handling Packaging Transportation

อุปสรรคสำคัญในการจัดการโซ่อุปทาน โลกาภิวัตน์ ทำให้ Supply Chain มีความซับซ้อน วงจรชีวิต (Life Cycle) ของผลิตภัณฑ์มีอายุที่สั้นลง ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์มีมากขึ้น ความคิดแบบแยกส่วนของผู้ประกอบการใน Supply Chain

การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในอนาคต IT และเทคโนโลยี จะกลายเป็นสิ่งที่สำคัญต่อการ พัฒนาโซ่อุปทาน การรวมกลุ่มเป็นพันธมิตรอุตสาหกรรม (Industrial Cluster) ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง จะเป็นสิ่งจำเป็นและ หลีกเลี่ยงได้ยาก การใช้ข้อมูลและฐานข้อมูล (Database) ช่วยในการ ตัดสินใจจะมีมากขึ้น เกิดรูปแบบธุรกิจที่จะเชื่อมต่อระหว่างข้อโซ่ต่างๆมาก ขึ้น เช่น ธุรกิจบริการข้อมูล บริการการขนส่ง เป็นต้น

1. สรุป นิยามของ Supply Chain สินค้าเกษตร คือ การเชื่อมโยงของทั้งหมดต่อกันทั้งในส่วนของ วัตถุดิบ สินค้า ข้อมูลและกิจกรรม เพื่อต้องการ ที่จะทำผลิตสินค้า จัดส่งสินค้า และให้บริการ แก่ลูกค้า รวมทั้งการจำหน่ายสินค้าและการไหล ของเงินสด (Cash Flow)

2. การทำ Supply Chain สิ่งที่จะต้องได้ข้อมูล คือ จะทำกิจกรรม อะไรบ้าง ทำเมื่อไหร่ ค่าใช้จ่ายเท่าไร ( 1 ไร่ / 1 ครั้ง ) เราให้บริการครบหรือยัง มีการวางแผนธุรกิจ ตรงจุดหรือไม่

3. ถ้าจัดทำSupply Chain จะได้อะไรบ้าง 1)      การเคลื่อนไหลของวัตถุดิบและสารสนเทศเป็นไป อย่างราบรื่น 2)      ปรับปรุงระดับของสินค้าคงเหลือ 3)      เพิ่มความเร็วได้มากขึ้น 4)      ขจัดความสิ้นเปลืองหรือความสูญเปล่าต่างๆ ในกระบวนการทางธุรกิจให้หมดไปได้ 5)      ลดต้นทุนในกิจกรรมต่างๆ ได้ 6)      ปรับปรุงการบริการลูกค้า

4. หลักการจัดทำSupply Chain 1) การคาดคะเนยอดขาย (Sale Forecasting) และกระบวนการสนับสนุนส่งเสริมการตลาด (Market Supporting Management) 2) การจัดการกระบวนการจัดซื้อ (Procurement) จะเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกับคู่ค้า 3) การจัดการขนส่งในโซ่อุปทาน (Carriage / Transportation) เป็นการจัดการเกี่ยวข้องกับความเร็ว 4) การจัดการคลังสินค้า (Inventory Management) เป็นการจัดการเกี่ยวกับสภาพคล่องทางการเงิน 5) กระบวนการสนับสนุนผลิต (Manufacturer Supporting Management) เป็นการจัดการในด้านลดต้นทุน 6) กระบวนการกระจายสินค้า (Distribution Management) เป็นการจัดการเกี่ยวกับเงื่อนเวลา Speed 7) การจัดการเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศในโซ่อุปทาน เป็นการจัดการเครือข่ายและข้อมูล 8) กระบวนการ Logistics ในรูปแบบต่างๆ เพื่อทำหน้าที่ส่งมอบและเคลื่อนย้ายสินค้า (Moving)

5. ประโยชน์จาก Supply chain 1. สร้างระบบการบริหารจัดการสินค้า ให้มีระบบ 2. สามารถควบคุมการทำงานได้ง่าย 3. ทำให้เกิดการประหยัดจากการลดต้นทุนได้ 4. ทำให้การบริการลูกค้าเกิดความสะดวก และไม่ตกหล่นการบริการ

มุมมองห่วงโซ่อุปทานด้านการเกษตร ข้อมูลสารสนเทศ การรวบรวม ผลผลิตการ เกษตร การแปรรูป ผลผลิต การเกษตร ศูนย์ กระจาย สินค้า ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ลูกค้า ผู้บริโภค เกษตรกร สมาชิก วัตถุดิบ สินค้า เกษตร สินค้า คงคลัง สินค้า คงคลัง สินค้า คงคลัง ความพึงพอใจ คุณภาพ ราคา การจัดส่ง การบริการ วางแผน จัดหา คลังสินค้า การผลิต การผลิต การผลิต เคลื่อน ย้าย การผลิต การคืน กระบวนการจัดการซัพพลายเชนสินค้าเกษตร ส่งมอบ ส่งมอบ ส่งมอบ ส่งมอบ สินค้า คงคลัง การคืน การคืน การคืน การคืน การไหลของเงินสด

SUPPLY CHAIN การเลี้ยงปลานิลของสหกรณ์ประมงพาน จำกัด การจัดเตรียม บ่อปลา การจัดหา พันธุ์ปลา กระบวน การ เลี้ยงปลา การจับปลา ขาย การจำหน่าย ปลา 1 2 3 4 5 ลักษณะบ่อปลา สหกรณ์จัดซื้อลูกปลาที่ได้มาตรฐาน การให้อาหารปลาตามขนาดอายุปลา การเตรียมการจับปลาของสมาชิก จำนวนพ่อค้าขายส่งปลานิล 1.1 2.1 3.1 4.1 5.1 กำจัดศัตรูปลา สมาชิกปล่อยลูกปลา การให้เวชภัณฑ์ปลา สหกรณ์ทำหน้าที่ในการจับปลา ราคาตามราคาตลาด 1.2 2.2 3.2 4.2 5.2 ทำความสะอาดบ่อปลา เตรียมการจัดหาเครื่องตีน้ำ การใช้เครื่องตีน้ำ การจัดระบบบำบัดน้ำทิ้ง สหกรณ์ได้ค่าบริการจากพ่อค้า กิโลกรัมละ 1 บาท 1.3 2.3 3.3 4.3 5.3 เติมน้ำดีในบ่อ จัดระบบน้ำเข้า 3.4 1.4 การกำจัดวัชพืชริมบ่อ 3.5

การวิเคราะห์หน้าที่ทางธุรกิจในโซ่อุปทานสินค้าปลานิล ของสหกรณ์ประมงพาน จำกัด ส่วนของสมาชิก ส่วนของสหกรณ์ ส่วนของผู้ค้าและผู้บริโภค ผลผลิตปลานิล การบริหารจัดการปลา การแปรรูป การทำการตลาด พ่อค้า การให้ความรู้ การเลี้ยงปลา ผลลัพธ์ทางการเงิน จัดเรียงลำดับการปล่อยปลา/จับปลาของสมาชิก ผู้บริโภค การกำหนดวันปล่อยปลา จับปลาของสมาชิก พื้นที่ดินจัดทำบ่อปลา ดูแลรักษาและการจับปลา การเจรจาการขาย การขายส่ง-ปลีก การรวบรวมปลา การประชาสัมพันธ์ น้ำ ทุน การให้เงินกู้ธุรกิจปลา การจับปลาให้พ่อค้า พันธุ์ปลา เตรียมการจับปลา การจำหน่ายอาหารปลา การรับค่าบริการ ทุน การจำหน่ายปลา ผลลัพธ์ทางการเงิน การจำหน่ายเวชภัณฑ์

กิจกรรมระดมความคิดเห็น วิธีการ 1. แบ่งกลุ่ม 2. ช่วยกันระดมความคิดภายในเวลา 30 นาที 3. นำเสนอกลุ่มละ 5 นาที 4. เลือก ประธานกลุ่ม / เลขานุการกลุ่ม ประเด็นการสนทนาระดมความคิด 1. สร้าง Supply Chain การบริหารจัดการเกษตรแปลงใหญ่ 2. วิเคราะห์หน้าที่ทางธุรกิจในโซ่อุปทาน 3. ปัญหาอุปสรรคในการจัดทำ Supply Chain