บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต ความหมายการวางแผนในการผลิต ประเภทการวางแผนในการผลิต ความสำคัญการวางแผนในการผลิต ลักษณะการวางแผนในการผลิต หน้าที่การวางแผนในการผลิต การจัดระบบการวางแผนในการผลิต การวางแผนกำลังการผลิต
การวางแผนในการผลิต การผลิต การวางแผน ผลผลิตที่ออกมาเป็นสินค้า ผลผลิตที่เกิดจากการบริการ การวางแผน การกำหนดวัตถุประสงค์ต่างๆ การกำหนดแนวทางการทำงาน
ประเภทของการวางแผน การวางแผนระยะยาว การวางแผนระยะปานกลาง ช่วงระยะเวลาระหว่าง 5 - 10 ปี การวางแผนระยะปานกลาง ช่วงระยะเวลาระหว่าง 2 - 5 ปี การวางแผนระยะสั้น ช่วงระยะเวลาระหว่าง 1 - 2 ปี
การวางแผนในการผลิต ความสำคัญในการวางแผนการผลิต กระบวนการผลิต จำนวนในการผลิต เวลาในการผลิต ความต้องการในการผลิต กำลังการผลิต การลดต้นทุนในการผลิต
ลักษณะการวางแผนผลิตสินค้า การวางแผนระบบการผลิต การวางแผนกำลังการผลิต การวางแผนเลือกที่ตั้งโรงงาน การวางแผนกระบวนการผลิต การวางแผนวิจัยและพัฒนา
ลักษณะการวางแผนผลิตสินค้า การวางแผนการใช้ระบบการผลิต การพยากรณ์การผลิต การวางแผนการผลิตรวม การจัดลำดับการผลิต การควบคุมการผลิต
หน้าที่ของการผลิตในงานอุสาหกรรม หน้าที่ในการออกแบบระบบการผลิต การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน การออกแบบสินค้า การออกแบบกระบวนการผลิต การออกแบบแผนผังโรงงาน การวิเคราะห์การทำงาน การกำหนดมาตรฐานสินค้า
หน้าที่ของการผลิตในงานอุสาหกรรม หน้าที่ในการวางแผนและควบคุม การวางแผนการผลิต การควบคุมวัสดุคงคลัง การควบคุมคุณภาพ การควบคุมต้นทุนการผลิต การซ่อมบำรุง หน้าที่ในการประสานงาน
การจัดระบบการวางแผนการผลิต การตัดสินใจผลิตชิ้นส่วนเองหรือจะซื้อ ต้นทุนถูกกว่า เมื่อต้องการขยายงาน เมื่อต้องการควบคุมคุณภาพ เทคนิคการผลิตที่ดีกว่า มีเงื่อนไขมากมายในการทำการผลิต
การจัดระบบการวางแผนการผลิต การจัดซื้อชิ้นส่วนจากภายนอก เทคนิคการผลิตสูงกว่า ราคาถูกกว่า ปริมาณน้อย กำลังการผลิตมีจำกัด ต้องการแข่งขันในการผลิต
การจัดระบบการวางแผนการผลิต การเลือกกระบวนการผลิต การผลิตจำนวนมาก การผลิตตามใบสั่งซื้อ การผลิตตามโครงการ
การจัดระบบการวางแผนการผลิต ขนาดและปริมาณการผลิตที่เหมาะสม ยอดสั่งของลูกค้า ความคล้ายคลึงกันของสินค้า ระยะเวลาการส่งมอบสินค้า การคาดการณ์ล่วงหน้า ประสบการณ์ในการผลิต นโยบายทางการค้า
การวางแผนกำลังการผลิต กำลังการผลิต คือ อัตราการผลิตสูงสุดที่ผลิตได้ จัดเป็นหน่วยของผลผลิตต่อหน่วยเวลา การวางแผนกำลังการผลิต การเตรียมการ แผนการผลิตออกมาตามที่ต้องการ
ความสำคัญของการวางแผนกำลังการผลิต เพื่อเตรียมกำลังในการผลิตให้เพียงพอ การจัดกำหนดการผลิต เพื่อเป็นการขยายกำลังการผลิต กิจการมีกำลังการผลิตอยู่ที่ใด กิจการควรจะเพิ่มกำลังการผลิตอีกเท่าใด กำลังการผลิตที่ใช้ควรเป็นประเภทใด หากขยายกำลังการผลิตควรจะขยายกำลังการผลิตที่ใด
ขั้นตอนการกำหนดกำลังการผลิต การตรวจสอบและประเมินกำลังการผลิตที่มีอยู่ การคาดคะเนความต้องการกำลังการผลิต การกำหนดทางเลือกของกำลังการผลิต
ขั้นตอนการประเมินกำลังการผลิตที่มีอยู่ วัดได้จากผลผลิต จำนวนรายการคันต่อปี น้ำหนักเหล็กตันต่อปี วัดได้จากปัจจัยในการผลิต จำนวนที่นั่ง จำนวนโต๊ะ จำนวนห้อง จำนวนพนักงาน
ขั้นตอนการคาดคะเนความต้องการกำลังการผลิต การคาดคะเนความต้องการในระยะสั้น การคาดคะเนความต้องการในระยะยาว นโยบายและแผนการพัฒนาของรัฐบาล แนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศ แนวโน้มทางเทคโนโลยี ขั้นตอนและอายุไขของสินค้า
กลยุทธ์ระยะสั้น การเก็บสินค้าคงเหลือ การค้างส่งสินค้า การปรับระดับพนักงาน การปรับระดับการใช้งาน การอบรมพนักงาน การออกแบบกระบวนการผลิตใหม่ การจ้างเหมาช่วง การบำรุงรักษาเครื่องจักร
กลยุทธ์ระยะยาว เมื่อปริมาณความต้องการเพิ่ม เมื่อปริมาณความต้องการลด วางแผนเตรียมขยายโรงงาน วางแผนเตรียมซื้อเครื่องจักร วางแผนปรับพัฒนาบุคลากร เมื่อปริมาณความต้องการลด ปรับปรุงคุณภาพสินค้า วางแผนสินค้าตัวใหม่ ปรับกำลังการผลิต
ขั้นกำหนดทางเลือกของกำลังการผลิต การวางแผนกำลังการผลิตเท่าเดิม การวางแผนลดกำลังการผลิต การวางแผนขยายกำลังการผลิต
คำถามท้ายบท การวางแผนการผลิตเกี่ยวข้องกับการวางแผนกำลังการผลิตอย่างไร วัตถุประสงค์ของการวางแผนการผลิตเพื่ออะไร การออกแบบระบบการผลิตมีความสำคัญอย่างไร