การตรวจสอบสภาพมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ เตรียมความพร้อมมัลติมิเตอร์ในการวัดขั้วคอมเพรสเซอร์ เตรียมความพร้อมคอมเพรสเซอร์ ปฏิบัติการวัดขั้วมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ การวัดในกรณีรู้ขั้วของคอมเพรสเซอร์ การวัดในกรณีไม่รู้ขั้วของคอมเพรสเซอร์
เตรียมความพร้อมมัลติมิเตอร์ในการวัดขั้วคอมเพรสเซอร์ ปลายเข็มมิเตอร์แตะกัน ปรับปุ่ม0โอห์มADJ ปรับปุ่มเลือกย่านวัดไปที่ตำแหน่ง X10 โอห์ม สายสีแดงเสียบเข้าที่ขั้วบวก สายสีดำเสียบเข้าที่ขั้วลบ เข็มมิเตอร์ชี้ที่ตำแหน่งศูนย์โอห์มพอดี
เตรียมความพร้อมคอมเพรสเซอร์ ใช้ไขควงขันถอดสกรูออก จากมอเตอร์คอมเพรสเซอร ์ ถอดฝาครอบออกจากตัวมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ ถอดฝาครอบออกแล้วจะเห็นรีเลย์ กับโอเวอร์โหลด ใช้ไขควงค่อยๆงัดลวดที่ยึด โอเวอร์โหลดออกจากล๊อก ทำการถอดโอเวอร์โหลด ถอดรีเลย์ออกโดยใช้มือดึงตัวรีเลย์ ออกจากขั้วคอมเพรสเซอร์ NEXT
จะเห็นขั้วของโอเวอร์โหลด ที่จะวัด ดึงสายที่ต่อขั้ว โอเวอร์โหลดออก ดึงโอเวอร์โหลดออก จะเห็นขั้วของโอเวอร์โหลด ที่จะวัด ดึงสายที่ต่อขั้ว โอเวอร์โหลดออก
ปฏิบัติการวัดขั้วมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ปฏิบัติการวัดขั้วมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ การวัดในกรณีรู้ขั้วของคอมเพรสเซอร์ ลักษณะขั้วของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์จะประกอบไปด้วย 1. ขั้ว C คือจุด COMMON 2. ขั้ว S คือจุด START 3. ขั้ว R คือจุด RUN อ่านค่าความต้านทานจากมัลติมิเตอรได้25โอห์ม วัดที่ขั้ว C กับ S NEXT
วัดที่ขั้ว C กับ R อ่านค่าความต้านทานจากมัลติมิเตอรได้15โอห์ม อ่านค่าความต้านทานจากมัลติมิเตอรได้40โอห์ม วัดที่ขั้ว Sกับ R
NEXT การวัดในกรณีไม่รู้ขั้วของคอมเพรสเซอร์ หรือในกรณีที่เราไม่รู้ขั้วของคอมเพรสเซอร์ ให้เรากำหนดให้เป็น ขั้ว 1 , 2 , 3 วัดที่ขั้ว1กับขั้ว2 อ่านค่าความต้านทานจากมัลติมิเตอรได้15โอห์ม วัดที่ขั้ว1กับขั้ว3 อ่านค่าความต้านทานจากมัลติมิเตอรได้20โอห์ม NEXT
อ่านค่าความต้านทานจากมัลติมิเตอรได้5โอห์ม วัดที่ขั้ว2กับขั้ว3 วัดระหว่างขัว1-2 = 15 โอห์ม วัดระหว่างขั้ว1-3 = 20 โอห์ม วัดระหว่างขั้ว2-3 = 5 โอห์ม ขั้ว S-C จะมีค่าความต้านทานมากกว่า R-C ในการวัดหาขั้วคอมเพรสเซอร์ทั้งสองแบบเพื่อทราบขั้วที่แน่นอนและตรวจสอบได้ว่าขั้วนั้นถูกต้องและไม่ชำรุด ปฏบัติตามขั้นตอนดังกล่าวผลออกมาต้องเป็นไปตามหลักการวัดตามที่ได้ศึกษาปฏบัติมาหากผิดจากเงื่อนไขนี้แสดงว่าความต้าน ขดลวดคอมเพรสเวอร์มีปัญหา