งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้าแบบอนาล็อก (Analog Instrument) เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล (Digital Instrument) 20/09/61

2 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
สัญลักษณ์บอกชนิดของมิเตอร์ หมายถึง เครื่องวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่(Moving Coil) หมายถึง เครื่องวัดชนิดแผ่นเหล็กเคลื่อนที่(Moving Iron) สัญลักษณ์บอกโครงสร้างการทำงาน หมายถึง ปุ่มปรับศูนย์(Zero Adjust) หมายถึง แรงดันทดสอบ(Test Voltage) ตัวเลขที่อยู่ภายใต้ดาวแสดงถึงขนาดของแรงเคลื่อนทดสอบ มีหน่วยวัดเป็น KV (ภายใต้ดาวที่ไม่มีตัวเลขหมายถึงแรงเคลื่อนทดสอบ 500 V 20/09/61

3 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
สัญลักษณ์บอกลักษณะการใช้งาน หมายถึง ขณะใช้งานให้วางเครื่องวัดในแนวนอน หมายถึง ขณะใช้งานให้วางเครื่องวัดในแนวตั้งฉาก หมายถึง ใช้ได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ หมายถึง ใช้ได้เฉพาะไฟฟ้ากระแสสลับ หมายถึง ใช้ได้เฉพาะไฟฟ้ากระแสตรง 20/09/61

4 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
สัญลักษณ์บอกค่าคลาดเคลื่อน Class 1.5 หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนของการวัด 1.5 % ของค่าเต็มสเกล (Full Scale) ตัวอย่าง มิเตอร์ตัวหนึ่งมี Class1.5 หมายถึง มิเตอร์จะมีค่าผิดพลาดในการวัดไป 5 เปอร์เซ็นต์ ของค่าเต็มสเกล สมมุติค่าเต็มสเกล มีค่าเท่ากับ 200 V มิเตอร์จะมีค่าผิดพลาดในการวัด เท่ากับ 20/09/61

5 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
ส่วนประกอบของเครื่องวัด 9 4 10 3 2 5 6 7 1 20/09/61

6 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
หลักการทำงาน 20/09/61

7 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
แรงบิดที่เกิดขึ้นในเครื่องวัด 1. แรงบิดบ่ายเบน(Deflecting Torque: TD ) 2. แรงบิดควบคุม(Controlling Torque: TC ) 3. แรงบิดหน่วง(Damping Torque: Td ) 20/09/61

8 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
แรงบิดบ่ายเบน( Deflecting Torque; TD ) แรงบิดบ่ายเบน หมายถึง แรงบิดที่ทำให้ระบบเคลื่อนที่หรือส่วนเคลื่อนที่ เคลื่อนที่ไปจากตำแหน่งเดิมหรือจากตำแหน่งศูนย์(Zero Position) 20/09/61

9 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
แรงบิดบ่ายเบน( Deflecting Torque; TD ) แรงบิดที่เกิดแต่ละด้านของตัวนำแต่ละเส้น ถ้าตัวนำมีจำนวนรอบ N รอบ จะได้ แรงบิดที่เกิดขึ้นบนตัวนำด้านเดียว จะได้ 20/09/61

10 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
แรงบิดบ่ายเบน( Deflecting Torque; TD ) แรงบิดที่เกิดขึ้นบนตัวนำ 2 ด้าน จะได้ แต่ NBA จะมีค่าคงที่ เพราะฉะนั้น 20/09/61

11 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
แรงบิดควบคุม( Controlling Torque;Tc ) แรงบิดควบคุม หมายถึง แรงบิดที่เกิดขึ้นจากสปริงเส้นผม ซึ่งจะมีทิศทางต้านกับแรงบิดบ่ายเบน และจะมีกำลังมากขึ้นตามการบ่ายเบนของระบบเคลื่อนที่และเข็มชี้จะหยุดนิ่ง เมื่อแรงบิดบ่ายเบนเท่ากับแรงบิดควบคุม 20/09/61

12 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
แรงบิดหน่วง( Damping Torque; Td ) แรงบิดหน่วง หมายถึง แรงบิดที่มีทิศทางตรงข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของส่วนเคลื่อนที่ มีหน้าที่ทำให้ระบบเคลื่อนที่ที่เคลื่อนที่ไปแล้วหยุดนิ่งอยู่กับที่อย่างรวดเร็ว โดยไม่แกว่งไปมา แรงบิดหน่วง เกิดจาก 3 สิ่งต่อไปนี้ คือ 1. ของเหลว 2. อากาศ 3. กระแสไหลวน 20/09/61

13 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
ขนาดของแรงบิดหน่วง จะมี 3 ขนาด คือ 1. คริติคอลแดมพ์ จะมีขนาดที่พอเหมาะ 2. โอเวอร์แดมพ์ จะมีขนาดที่มากเกินไป 3. อันเดอร์แดมพ์ จะมีขนาดน้อยเกินไป 20/09/61

14 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
การนำไปใช้งาน จะใช้ได้เฉพาะกับไฟฟ้ากระแสตรงเท่านั้น ข้อดีของเครื่องวัด ข้อเสียของเครื่องวัด 1. สเกลเป็นแบบเชิงเส้น โครงสร้างบอบบาง 2. ความไวในการวัดสูง สปริงเกิดอาการล้าตัวได้ 3. ต้องการใช้กำลังไฟฟ้าน้อย แม่เหล็กเสื่อมคุณภาพ 4. การ Damping ดีที่สุด 5. สามารถขยายย่านวัดได้ 20/09/61

15 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องวัดชนิดแผ่นเหล็กเคลื่อนที่(Moving Iron) แบบอาศัยอำนาจแม่เหล็กดึงดูด 1 3 2 5 4 20/09/61

16 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องวัดชนิดแผ่นเหล็กเคลื่อนที่(Moving Iron) หลักการทำงาน เมื่อกระแสไหลผ่านเข้าไปในขดลวดที่อยู่กับที่ จะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้น โดยมีความเข้มของสนามแม่เหล็กมากที่สุดที่ศูนย์กลางของขดลวด แผ่นเหล็กอ่อนจะถูกดึงดูดเข้าสู่ศูนย์กลางของขดลวด แรงดึงดูดจะแปรไปตามปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวด 20/09/61

17 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
โครงสร้างของเครื่องวัดชนิดแผ่นเหล็กเคลื่อนที่(Moving Iron) แบบอาศัยอำนาจแม่เหล็กผลักดัน 1 2 3 4 5 6 7 20/09/61

18 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
หลักการทำงาน เมื่อมีกระแสไหลผ่านเข้าไปในขดลวดเคลื่อนที่จะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นและจะเหนี่ยวนำให้แผ่นเหล็กอ่อนทั้งสองที่วางขนานกันมีอำนาจแม่เหล็กเหมือนกัน จึงทำให้เกิดแรงผลักซึ่งกันและกัน ทำให้แผ่นเหล็กอ่อนที่เคลื่อนที่ได้ เคลื่อนที่ไป S N I 20/09/61

19 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
การนำไปใช้งาน จะใช้ได้กับไฟฟ้ากระแสตรงเละกระแสสลับ ข้อดีของเครื่องวัด ข้อเสียของเครื่องวัด 1. วัดได้ทั้งไฟตรงและไฟสลับ ความไวต่ำ 2. ทนต่อการสั่นสะเทือน สเกลเป็นแบบ non linear 3. ราคาถูก มีผลของฮีสเตอรีซีสในแท่งเหล็ก 20/09/61

20 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องวัดชนิดอิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ 20/09/61

21 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
การทำงาน 20/09/61

22 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
การนำไปใช้งาน 20/09/61

23 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องวัดชนิดเส้นลวดร้อน 1. ลวดทองคำขาว(AB) 1 2 3 4 5 6 8 9 2. ลวดทองแดงผสมดีบุก(CD) 3. เชือกไหม 4. พู่เล่(Pulley) 5. สปริง(Spring) 6. เข็มชี้(Pointer) 7. สเกล(Scale) 8. แม่เหล็กถาวร(Permanent Magnet) 9. จานอลูมิเนี่ยม 20/09/61

24 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
ข้อดีและข้อเสียของเครื่องวัด ข้อดีของเครื่องวัด 1. วัดได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ 2. ค่าที่อ่านได้ไม่ขึ้นอยู่กับรูปคลื่นและความถี่ 3. สนามแม่เหล็กจากภายนอกไม่มีผลต่อการทำงานของเครื่องวัด ข้อเสียของเครื่องวัด 1. การเคลื่อนที่ของเข็มชี้จะเคลื่อนที่ช้า 2. มีกำลังไฟฟ้าสูญเสียภายในสูง 20/09/61

25 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
ข้อดีและข้อเสียของเครื่องวัด ข้อเสียของเครื่องวัด 3. ก่อนการใช้ จะต้องปรับเข็มชี้ให้ชี้ที่ศูนย์ทุกครั้ง 4. มีสเกลแบบไม่สม่ำเสมอ 5. ไม่สามารถทนต่อกระแสไฟฟ้าที่ไหลเกินจำนวนมากด้วย 20/09/61

26 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องวัดชนิดแผ่นโลหะคู่ การทำงานของแผ่นโลหะคู่ 20/09/61

27 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
โครงสร้างและส่วนประกอบ 1. Bimetallic Spiral Strip 2. สปริงก้นหอย 3. แผ่นกั้นความร้อน 4. เข็มชี้ 5. สเกล 20/09/61

28 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
การนำไปใช้งาน 1. วัดได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ ทุกรูปลักษณะคลื่น ทุกความถี่ 2. สนามแม่เหล็กภายนอกไม่มีผลต่อการทำงาน 3. ใช้กำลังไฟฟ้าสูง 4. มีความเที่ยงตรงในการวัดต่ำ 20/09/61

29 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องวัดชนิดเทอร์โมคัปเปิล การเกิดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงในเทอร์โมคัปเปิล 20/09/61

30 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
โครงสร้างและส่วนประกอบ 1. ขดลวดความร้อน(Heater) 2. เทอร์โมคัปเปิล(Termocouple) 3. เครื่องวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่ 20/09/61

31 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
ข้อดีของเครื่องวัด 1. ใช้ได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ 2. วัดได้ทุกรูปคลื่นและความถี่ ข้อดีของเครื่องวัด 1. สเกลเป็นแบบไม่เป็นเชิงเส้น 2. ขดลวดความร้อนขาดง่าย เมื่อกระแสไหลเกิน 3. โครงสร้างบอบบาง 4. ราคาแพง 20/09/61

32 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
สรุปสาระการเรียนรู้ ประภทของเครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้าแบบอนาล็อก เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล 20/09/61

33 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
บอกชนิดของเครื่องวัด บอกค่าคลาดเคลื่อน สัญลักษณ์ของเครื่องวัด บอกโครงสร้าง การทำงาน บอกลักษณะการใช้งาน 20/09/61

34 หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
Moving Iron Instrument Moving Coil Instrument Bimetallic Instrument Hotwire Instrument Type of Instrument Electrodynamometer Thermocouple Instrument 20/09/61


ดาวน์โหลด ppt หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google