งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
แผ่นที่ 4-1 หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่   เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

2 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดนี้สามารถนำไปใช้กับ ไฟฟ้ากระแสตรง หรือ
หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-2 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดนี้สามารถนำไปใช้กับ ไฟฟ้ากระแสตรง หรือ ไฟฟ้ากระแสสลับ หรือ ทั้งสองอย่าง เพราะอะไร เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-3 ความหมายของ เครื่องวัดไฟฟ้าชนิด ขดลวดเคลื่อนที่ เครื่องวัดไฟฟ้าที่ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าที่วัดให้เป็นพลังงานกลแล้ว ทำให้ขดลวดเคลื่อนที่พาเข็มชี้ให้เคลื่อนที่ไปชี้ค่า ที่กำหนดให้บนสเกล มีโครงสร้างอย่างไร เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-4 โครงสร้างของ เครื่องวัดไฟฟ้าชนิด ขดลวดเคลื่อนที่ 8. แกนหมุน 4. สปริงก้นหอย 9. โครงเหล็ก 7. เข็มชี้ 2. แกนเหล็กอ่อน 1. แม่เหล็กถาวร 5. กรอบอะลูมิเนียม 3. ขดลวดเคลื่อนที่ เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

5 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-5 โครงสร้าง N s 2. ขดลวดเคลื่อนที่ 7. เข็มชี้ 6. สเกล 3. แกนเหล็กอ่อน 10. ฐานยึดแกนเหล็กอ่อน 9. โครงเหล็ก 1. แม่เหล็กถาวร 4. สปริงก้นหอย มีหลักการทำงานอย่างไร เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

6 หลักการทำงาน I เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปได้อย่างไร เพราะอะไร
เครื่องวัดไฟฟ้า หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-6 หลักการทำงาน N s I เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปได้อย่างไร เพราะอะไร ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลกลับทางเข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปในทิศทางใด เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

7 หลักการทำงาน I เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปได้อย่างไร เพราะอะไร
เครื่องวัดไฟฟ้า หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-7 หลักการทำงาน N s I เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปได้อย่างไร เพราะอะไร ขนาดของแรงบิดบ่ายเบนขึ้นอยู่กับอะไร เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

8 ขนาดของแรงบิดบ่ายเบน เมื่อเข็มชี้หยุดนิ่ง มีความหมายอย่างไร
เครื่องวัดไฟฟ้า หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-8 ขนาดของแรงบิดบ่ายเบน Td = Fr TD = แรงบิดบ่ายเบน F =แรง (ผลัก) ที่ทำให้ขดลวดเคลื่อนที่ r =ระยะทางที่ตั้งฉากกับแนวแรง F = BIL B=ความหนาแน่นของสนาแม่เหล็กถาวร I=กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดเคลื่อนที่ L=ความยาวของขดลวดเคลื่อนที่ Td = BILr Td ~ I เมื่อเข็มชี้หยุดนิ่ง มีความหมายอย่างไร เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

9 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-9 เมื่อเข็มชี้หยุดนิ่ง Td = Tc Tc = k q เมื่อ q คือระยะทางที่เป็นมุมที่เข็มชี้เคลื่อนที่ ออกจากตำแหน่งเดิมไปชี้ค่าบนสเกล Tc ~ q q ~ Td Td ~ I q ~ I เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

10 กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดเคลื่อนที่มีค่าน้อย
เครื่องวัดไฟฟ้า หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-10 กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดเคลื่อนที่มีค่าน้อย Iน้อย N s qน้อย เข็มชี้จะเคลื่อนที่ ได้ระยะทางน้อย เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

11 กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดเคลื่อนที่มีค่ามาก
เครื่องวัดไฟฟ้า หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-11 กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ขดลวดเคลื่อนที่มีค่ามาก qมาก N s N s Iมาก Iมาก เข็มชี้จะเคลื่อนที่ ได้ระยะทางมาก เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

12 สเกลเป็นแบบเชิงเส้นหรือ ระยะห่างของสเกลมีค่า
เครื่องวัดไฟฟ้า หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-12 ลักษณะของสเกล 4 3 2 1 สเกลเป็นแบบเชิงเส้นหรือ ระยะห่างของสเกลมีค่า เท่ากันหมด เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

13 สรุปโครงสร้างและหน้าที่ของขดลวดเคลื่อนที่
เครื่องวัดไฟฟ้า หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-13 สรุปโครงสร้างและหน้าที่ของขดลวดเคลื่อนที่ 1. แม่เหล็กถาวร สร้างจาก โลหะผสมอัลนิโก (ALNIGO) ทำหน้าที่ สร้างสนามแม่เหล็กถาวร 2. แกนเหล็กอ่อน สร้างจาก เหล็กอ่อนรูปทรงกระบอก ทำหน้าที่ เหนี่ยวนำให้เป็นแม่เหล็กไฟฟ้า 3. สเกล สร้างจาก อะลูมิเนียม ทำหน้าที่ บอกปริมาณที่วัดได้ร่วมกับเข็มชี้ 4. ขดลวดเคลื่อนที่ สร้างจาก ลวดทองแดงอาบน้ำยา ทำหน้าที่ เหนี่ยวนำแกนเหล็กอ่อนให้เป็น แม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อสร้างแรงบิดบ่ายเบน เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-14 5. เข็มชี้ สร้างจาก อะลูมิเนียม ทำหน้าที่ ชี้บอกปริมาณที่วัดได้บนสเกล 6. กรอบอะลูมิเนียม สร้างจาก อะลูมิเนียม ทำหน้าที่ ยึดขดลวดเคลื่อนที่และสร้าง แรงบิดหน่วง 7. ฐานยึดแกนเหล็กอ่อน สร้างจาก เหล็กอ่อน ทำหน้าที่ ยึดแกนเหล็กอ่อนให้ได้ศูนย์กลาง 8. โครงเหล็กภายนอก สร้างจาก เหล็กอ่อน ทำหน้าที่ เป็นที่ยึดจับของส่วนประกอบ ภายในและเป็นทางผ่านของ เส้นแรงแม่เหล็ก 9. สปริงก้นหอย สร้างจาก ทองแดงผสมดีบุก ฟอสเฟอร์ และบรอนซ์ ทำหน้าที่ สร้างแรงบิดควบคุมและเป็นทาง ผ่านของกระแสไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

15 สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง
เครื่องวัดไฟฟ้า หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-15 สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง การประยุกต์สร้างเป็นเครื่องวัดไฟฟ้า 1. โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง 2. โอห์มมิเตอร์ มัลติมิเตอร์ 3. โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

16 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-16 ข้อดี ข้อเสีย 1. ความไวสูง 2. สเกลเป็นแบบเชิงเส้น 3. สามารถขยายย่านวัดได้ 4. แรงบิดหน่วงเป็น ผลพลอยได้ 5. โครงสร้างบอบบาง 6. แม่เหล็กถาวรอาจเสื่อม 7. สปริงก้นหอยอาจล้า 8. ราคาแพง 9. เครื่องวัด AC สเกลจะถูก ต้องเฉพาะรูปคลื่นไซน์ เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

17 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 4 แผ่นที่ 4-17 แผนผังความคิด เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่ โครงสร้าง -แม่เหล็กถาวรกับขดลวดเคลื่อนที่ หลักการทำงาน -แรงผลักระหว่างแม่เหล็กถาวร กับแม่เหล็กไฟฟ้า สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง การประยุกต์ใช้งาน -เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง -เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ ข้อดีและข้อเสีย เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่


ดาวน์โหลด ppt หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google