เวชศาสตร์ครอบครัวกับคนปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
โรงพยาบาลนามน ขอ ต้อนรับ ด้วยความยินดียิ่ง
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ร่างกายและสมองของนักเรียน รักษาไว้ให้แข็งแรง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ตลาดและคู่แข่งขัน
COMPETENCY DICTIONARY
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
วิถีชุมชน เครื่องมือ 7 ชิ้น ที่ทำให้งานชุมชนง่าย ได้ผล และสนุก
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
ความคิดในเชิงกลยุทธ์
PRIMARY CARE PRIMARY CARE Primary care.
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เวชศาสตร์ครอบครัวกับคนปฐมภูมิ ผศ.พ.ญ.สายพิณ หัตถีรัตน์ ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

Primary care Family medicine Primary care provider

Primary care คืออะไร

ประเภท ของเวชปฏิบัติ เวชปฏิบัติปฐมภูมิ บริการด่านแรก ดูแลต่อเนื่อง เวชปฏิบัติตติยภูมิ โรคพบน้อย ต้องการการเฝ้าดูแล แพทย์เฉพาะโรค ประเภท ของเวชปฏิบัติ เวชปฏิบัติทุติยภูมิ นอนรักษาใน รพ. แพทย์ดูแลรักษา เวชปฏิบัติปฐมภูมิ บริการด่านแรก ดูแลต่อเนื่อง ดูแลผสมผสานทุกด้าน ประสานงานเป็นทีม

แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว วิชาชีพไหน “หมอครอบครัว” แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว คนปฐมภูมิ คือ ใคร

ความรู้ เจตคติทักษะ จากวิชาชีพ จากเพื่อนสหวิชาชีพ จากงาน จากชีวิต คนปฐมภูมิ คือ ใคร

ระบบนิเวศน์ของบริการทางการแพทย์ ประชากรผู้ใหญ่ 1000 เจ็บป่วยในช่วง 1 เดือน 750 เวชปฏิบัติปฐมภูมิ 1. บริการด่านแรก 2. ดูแลต่อเนื่อง 3. ดูแลทุกด้านแบบผสมผสาน 4. ประสานงานเป็นทีม พบแพทย์ปฐมภูมิ 250 9 นอนโรงพยาบาล 5 ส่งต่อโรงพยาบาลศูนย์ 1 ส่งต่อโรงเรียนแพทย์ White KL. NEJM 1961;265(18):885-892

จงวางแผนการดูแลสุขภาพประชากรต่อไปนี้ ประชากรชาว “A” มีดัชนีชี้วัดสุขภาพเทียบกับอัตราเฉลี่ยทั่วประเทศดังนี้ 2 x Perinatal dealth 3 x Teenage preg. 8 x TB infection 20 x STD infection 26 x Alcoholics 5 x Crime rate 6 x Suicidal rate 7 x Sexual assault 50% : Age < 25 yrs 60% Adult : Smoking 40% : Elementary education 40% : Unemployed

Family Medicine คืออะไร

เข้าใจโรค เข้าใจคน เข้าใจสุขภาพ เข้าใจโรค เข้าใจคน เข้าใจสุขภาพ

รักษาโรค vs. รักษาคน

Bio-Psycho-Social Model of Health

คน คือ “ใคร”

ระบบควบคุมในธรรมชาติ โลก ประเทศ วัฒนธรรม ชุมชน ครอบครัว บุคคล โรค (Disease) ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจเพิ่มเติม วินิจฉัยแยกโรค ความเจ็บป่วย (Illness) ความคิด ความรู้สึก กิจกรรมที่ทำได้ ความคาดหวัง สมองและระบบประสาท ระบบอวัยวะอื่น เนื่อเยื่อ เซล โมเลกุล อะตอม อนุภาค Engel G. The clinical application of the biopsychosocial model. Am J Psychiatr 1980;137:535-44

“อาจารย์คะ หนูปวดท้องมา 4 ปี ไม่หายสักที หนูควรจะไปหาหมอคนไหนดีคะ” “อาจารย์คะ หนูปวดท้องมา 4 ปี ไม่หายสักที หนูควรจะไปหาหมอคนไหนดีคะ” กินยาทั้ง omeprazole, antacid, etc. ไม่หาย Med ส่องกล้องแล้วปกติ ให้ยาไม่ดีขึ้น ศัลย์ U/S แล้วบอกปกติ ให้ยาไม่ดีขึ้น นรีเวช ตรวจภายในก็ปกติดี ไม่ใช่ condition ทาง Med, Surg, OBG แม่พาไปกินน้ำมนต์แล้วก็ไม่หาย

หญิง 28 ปี พนง.บริษัท Age 24 4 yrs ago Life Life after before sickness

7 yrs ago 11 yrs ago 4 yrs ago

หญิง 28 ปี พนง.บริษัท Functional dyspepsia Somatic symptom disorder 4 years Couple violence, love affair Family of childbirth History of abortion, child loss Family history of divorce

ระบบควบคุมในธรรมชาติ โลก ประเทศ วัฒนธรรม ชุมชน: BKK ครอบครัว: couple problem บุคคล โรค (Disease) Functional dyspepsia Somatic symptom disorder ความเจ็บป่วย (Illness) I: Malignancy F: pain, uncertain F: eat, sleep prob. E: need to control สมองและระบบประสาท ระบบอวัยวะอื่น เนื่อเยื่อ เซล โมเลกุล อะตอม อนุภาค Engel G. The clinical application of the biopsychosocial model. Am J Psychiatr 1980;137:535-44

การเข้าใจคนแบบองค์รวม ชุมชน บทบาทผู้ป่วยในชุมชน แหล่งที่พึ่ง ระบบบริการสุขภาพ ที่ทำงาน โรงเรียน ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา ครอบครัว ระบบครอบครัว วัยครอบครัว ปัญหาครอบครัว วิธีแก้ปัญหาของครอบครัว ที่พึ่งของครอบครัว ผลกระทบต่อสุขภาพ บุคคล ใคร อายุ อาชีพ ความเป็นมา ความเจ็บป่วย โรค

ทำไมคนไข้ทำตัวแบบนี้

Virginia Satir. The Personal Iceberg Metaphor. รู้ตัว พฤติกรรม ความรู้สึก ไม่รู้ตัว การรับรู้และตีความ ความคาดหวัง ความปรารถนาลึกๆ Virginia Satir. The Personal Iceberg Metaphor. ตัวตน

พฤติกรรม พฤติกรรม ความรู้สึก ความรู้สึก ตัวตน ตัวตน การรับรู้ ความคาดหวัง ความคาดหวัง สิ่งปรารถนาลึกๆ สิ่งปรารถนาลึกๆ ตัวตน ตัวตน

เราจะช่วย “คน”ได้อย่างไร

สารที่ส่งมา : Verbal & non-verbal

Fact Feeling Perception

พฤติกรรม พฤติกรรม ความรู้สึก ความรู้สึก ตัวตน ตัวตน การรับรู้ Difficult Patient Doctor พฤติกรรม พฤติกรรม ความรู้สึก ความรู้สึก การรับรู้ การรับรู้ ความคาดหวัง ความคาดหวัง สิ่งปรารถนาลึกๆ สิ่งปรารถนาลึกๆ ตัวตน ตัวตน

ทุกปัญหาแก้ได้ มองหาข้อดี >>> ปัญหา/โรค/ความผิดปกติ คน ไม่ใช่ปัญหา โรค ก็ไม่ใช่ปัญหา วิธีรับมือหรืออยู่ร่วมกับโรค อาจเป็นปัญหา

เป้าในการให้คำปรึกษา ให้เขามีความมั่นคงมั่นใจในตนเองมากขึ้น (self esteem) มีทางเลือกมากขึ้น ในทางที่ดีขึ้น (option) รับผิดชอบต่อตนเองให้ได้มากขึ้น (own responsibility) สอดคล้องกลมกลืนเพิ่มขึ้นในบริบทตนเอง (congruence)

เยียวยาใจเพื่อนมนุษย์ B Background เรื่องราวเป็นอย่างไร A Affect รู้สึกอะไรบ้าง T Trouble ปัญหาไหนหนักที่สุด H Handle หลุดมาได้อย่างไร E Empathy เข้าใจได้ว่าทำไมทุกข์

จิตบำบัดให้บวก เป็นไง ดีขึ้นไหม ขยายภาพให้ใหญ่ “ทำอย่างไร” เป็นไง ดีขึ้นไหม “ทำอย่างไร จึงประคองไว้ได้” เหมือนเดิม แย่ลง “ผ่านมาได้อย่างไร” ตั้งเป้าใหม่ให้ทำได้

โรคเรื้อรัง คือ ตัวเรา ที่ไม่เที่ยง ต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับมันอย่างมีความสุข เหมือนนิยายที่อ่านค้างไว้ ยังไม่ถึงตอนจบ

ฟังด้วยใจ ไม่ใช่ฟังด้วยหู Care for all ฟังด้วยใจ ไม่ใช่ฟังด้วยหู