การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา 08.00 – 09.30 น. ณ ห้องประชุม 2 อาคาร 1 ชั้น 2 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จ.นครปฐม ณ 20 เม.ย.56 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จ.นครปฐม ณ 20 เม.ย.56 รูปที่ 1 เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ปี 2556 กับค่ามัธยฐานและ ปี 2555 ที่มา : บัตรรายงานผู้ป่วยโรคเฝ้าระวัง (รง.506/507) งานระบาดวิทยา สสจ.นครปฐม (ข้อมูล ณ 22 เมษายน 2556)
สถานการณ์โดยรวมของประเทศ ยังคงมีผู้ป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐานอย่างต่อเนื่อง จำนวนผู้ป่วยยังคงสูงกว่าจำนวนผู้ป่วยในช่วงเดียวกันในรอบ 10 ปี
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน ปี 2556 ณ วันที่ 2 เมษายน 2556 ถึงแม้ว่าจำนวนผู้ป่วยที่รายงานในแต่ละเดือน มีแนวโน้มที่ลดลง แต่ยังคงสูงกว่าค่ามัธยฐานอย่างต่อเนื่อง แหล่งข้อมูล : รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 5 5
แผนที่แสดงจำนวนผู้ป่วย 8 สัปดาห์เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน จำนวนผู้ป่วยสูงกว่ามัธยฐานมากว่า 20% จำนวนผู้ป่วยสูงกว่ามัธยฐานแต่น้อยกว่า 20% จำนวนผู้ป่วยน้อยกว่ามัธยฐานมากว่า 20% W 6 W 7 W 9 W 8 ถึงแม้แนวโน้มไข้เลือดออกจะลดลง แต่พื้นที่ส่วนใหญ่ยังคงมีปัญหาไข้เลือดออกอยู่ W 10 W 11 W 12 W 13
แผนที่แสดงค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย(HI)ใน 190 อำเภอเสี่ยงปี 2556 จังหวัด min max เชียงราย 2.75 21.00 มหาสารคาม 7.00 20.33 อุบลราชธานี 9.33 18.33 นครพนม 11.00 17.00 นครศรีธรรมราช 9.09 16.33 อุดรธานี 6.67 15.67 สุรินทร์ 3.67 15.00 ขอนแก่น 8.33 14.33 แพร่ 4.17 14.08 ยโสธร 5.88 14.00 สงขลา 12.07 มุกดาหาร 6.00 11.50 เพชรบุรี 8.67 11.33 บุรีรัมย์ 10.67 นครราชสีมา 7.33 ชัยภูมิ 6.33 อุตรดิตถ์ 1.12 5.00 พิจิตร 46.67 - กำแพงเพชร 30.33 นครสวรรค์ 28.00 สุราษฎร์ธานี 27.00 เลย 24.67 ชุมพร 23.39 อุทัยธานี 22.67 ลำปาง 22.38 สมุทรสงคราม ลพบุรี 18.00 ลำพูน 16.50 น่าน 12.87 อ่างทอง ปัตตานี 8.00 กระบี่ 7.67 พะเยา 3.50 แม่ฮ่องสอน 3.37 แผนที่แสดงค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย(HI)ใน 190 อำเภอเสี่ยงปี 2556 จังหวัด min max พิษณุโลก 10.00 62.50 ตราด 11.00 58.00 ปทุมธานี 28.70 53.33 ระยอง 20.00 53.00 นนทบุรี 47.15 กาญจนบุรี 31.00 46.00 เพชรบูรณ์ 26.00 45.00 ชลบุรี 13.86 42.86 นครปฐม 17.00 42.00 ประจวบคีรีขันธ์ 27.33 40.67 ฉะเชิงเทรา 40.00 ศรีสะเกษ 13.39 38.00 สระบุรี 18.00 36.00 ร้อยเอ็ด 8.00 33.67 พระนครศรีอยุธยา 15.45 33.33 เชียงใหม่ 13.00 29.50 สมุทรสาคร 29.00 สุพรรณบุรี 9.00 27.67 ปราจีนบุรี 27.00 จันทบุรี อำนาจเจริญ 11.50 สระแก้ว 4.00 ราชบุรี กาฬสินธุ์ 2.67 สมุทรปราการ 24.00 25.00 หนองคาย 10.33 23.33 ตาก 22.50 สกลนคร 8.50 21.50 หนองบัวลำภู 15.33 21.00 1. อำเภอที่มีผู้ป่วยต่อเนื่องในช่วงสัปดาห์ที่10-13 มี 84 อำเภอ ใน 36 จังหวัด 2. จังหวัดที่มีรายงานผู้ป่วยในช่วง สัปดาห์ที่12-13 มากกว่า 2 อำเภอ มี 15 จังหวัด เมื่อเปรียบเทียบกับค่า HI ที่มีการสำรวจใน 190 อำเภอ ในช่วงเดือนมีนาคม ดังแสดงด้วยอักษรสีน้ำเงินในรูป ข้อมูลจาก สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 – 12 จัดทำโดย สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง ณ วันที่ 4 เมษายน 2556 จังหวัดที่ไม่ได้มีการสำรวจ นราธิวาส พัทลุง
ผู้เสียชีวิต จากรายงาน 506 และรายงานตรวจสอบข่าวการระบาด รวม 20 ราย การรักษาครั้งแรก ซื้อยากินเอง/ คลินิก/ โรงพยาบาลเอกชน จำนวน 11 ราย โรงพยาบาลของรัฐ จำนวน 9 ราย จำนวนครั้งที่รักษา มัธยฐาน = 2 ครั้ง (9 ราย) ระยะเวลาจากวันเริ่มป่วยถึงวันที่วินิจฉัย มัธยฐาน = 4 วัน (2 ราย) กลุ่มอายุ 0 - 14 ปี 13 ราย 15 ปีขึ้นไป 7 ราย รักษา (ครั้ง) 1 2 3 4 5 จำนวน (ราย) 9 7 ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่มักจะรักษาตัวเองก่อนหรอไม่ก็ไปรับบริการทางการแพทย์ของเอกชน มักจะไปพบแพทย์หลายครั้ง โดยวันที่วินิจฉัยได้มักจะเป็นวันที่ 4 ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอายุต่ำกว่า 14 ปี ระยะเวลา (วัน) 1 3 4 5 6 9 10 ไม่ทราบ จำนวน (ราย) 2
2.การดำเนินงานป้องกันและการควบคุมไข้เลือดออก
แนวทางดำเนินงานก่อนการระบาด สถานการณ์ อสม. รพสต. อปท. อำเภอ จังหวัด สำรวจครัวเรือนทุกสัปดาห์ ประเมินความเสี่ยง รายงานสถานการณ์ พบลูกน้ำ แนะนำเจ้าบ้าน 4 ป. 1 ข. พบยุงตัวแก่ แนะนำเจ้าบ้าน กำจัดยุง พบผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก - แนะนำผู้ป่วยไปพบแพทย์ ทายากันยุง - สำรวจลูกน้ำในบ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง - แจ้งรพสต. - ติดตามผู้ป่วย - ประชาสัมพันธ์ว่าพบผู้ป่วยในชุมชน -สำรวจ/กำจัดลูกน้ำในบ้านผป.และบ้านใกล้เคียง - รณรงค์กำจัดลูกนำและยุงตัวแก่ - ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ป่วยสงสัยไปรับการรักษา -จัดพาหนะรับส่งผู้ป่วยบ้านผป. การดำเนินงานป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก จะมีกลไกตั้งแต่ระดับหมู่บ้านจนถึงระดับจังหวัด โดยมีกิจกรรมก่อนการระบาดหรือก่อนการมีผู้ป่วยยืนยันดังนี้
แนวทางดำเนินงานเมื่อเกิดการระบาด สถานการณ์ อสม. รพสต. อปท. อำเภอ จังหวัด พบผู้ป่วยยืนยันตั้งแต่ 1 ราย - ค้นหาผู้ป่วยมีไข้ทุกวัน - ให้ผู้ป่วยทาตะไคร้หอม - ให้ความรู้เรื่องโรคและการป้องกันโรคแก่ชุมชน - แจ้งรพสต. - เรียกประชุม SRRT ตำบล - สอบสวนโรค - สำรวจHI วันที่0, 7, 14 - ร่วมควบคุมยุงตัวแก่กับอปท.วันที่ 1, 3, 7 - เฝ้าระวังต่อเนื่องจนครบ 28 วัน - ประชาสัมพันธ์หากมีไข้ให้มาตรวจที่รพสต.ภายใน 24 ชม. -ร่วมควบคุมยุงตัวแก่กับรพสต. วันที่ 1, 3, 7 -จัดพาหนะรับส่งผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาล พบผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ตำบลในช่วง 2 สัปดาห์ เปิดศูนย์ปฏิบัติการระดับอำเภอ (war room) พบผู้ป่วยตั้งแต่ 3 อำเภอ ในช่วง 2 สัปดาห์ เปิดศูนย์ปฏิบัติการระดับจังหวัด หากมีการระบาดหรือมีการพบผู้ป่วยยืนยันแล้ว ก็จะมีกิจกรรมการรดำเนินงานป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก ดังนี้
การประเมินผลการป้องกันและการควบคุมไข้เลือดออก
แนวทางประเมินผลการป้องกัน ควบคุมโรค ไข้เลือดออก โดยสคร. กิจกรรม ข้อมูลที่เก็บ ตัวชี้วัด 1.สำรวจ HI อำเภอเมือง 30 หลังคาเรือน ไม่มีผู้ป่วย HI มีผู้ป่วย HI+ทันเวลา ประสิทธิภาพการป้องกันโรคจังหวัด ประสิทธิภาพควบคุมอำเภอ 2. สำรวจ HI อำเภออื่น ตำบลที่มีผู้ป่วย 30 หลังคาเรือน ตำบลไม่มีผู้ป่วย 3. วิเคราะห์ข้อมูล 506 Second generation 4. สำรวจ CI รพ. (พค.) CI รพ. 190 แห่ง การประเมินผลการป้องกันและการควบคุมไข้เลือดออก จะดำเนินการทุกเดือนตั้งแต่ เมษายนนี้ไปจนถึงกรกฎาคม ดำเนินการโดย สคร ทั้ง 12 แห่ง
4.การรณรงค์ต้านภัยไข้เลือดออก