งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2 ที่มา/ความสำคัญของปัญหา
นโยบายประเทศ /นโยบายรัฐบาล นโยบายกรมอนามัย 1. การบริหารหรือวิธีการจัดการที่จะให้ได้มาซึ่งงานหรือบริการที่มีคุณภาพ (Total Quality Management : TQM) 2. การประยุกต์เกณฑ์การดำเนินงานเพื่อการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) 3. หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ของการบริการจัดการภาครัฐ 4. นโยบายการพัฒนาและรับรองคุณภาพ (HA) 5. มาตรฐานและพัฒนาระบบมาตรฐานด้านการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ (P.S.O) - แนวทางการพัฒนาและขับเคลื่อนกระบวนการบริหารด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม แก่ประชาชน ตามแนวคิดของนายแพทย์อมร นนทสุต “การขับเคลื่อนวัตกรรม โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์” 1. แผนที่ยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (SLM) 2. มาตรฐานกระบวนงานพัฒนามาตรฐานการบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (Environmental Health Accredit : EHA)

3

4 เป้าหมาย วัตถุประสงค์
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพ ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ 1. สนับสนุน/รองรับประเด็นยุทธศาสตร์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย 2. ขับเคลื่อน/ผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำกระบวนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ไปปรับใช้ในท้องถิ่น

5 เกณฑ์การวัดคุณภาพด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำแนกเป็น 2 รูปแบบ คือ 1. วัดคุณภาพโดยองค์รวม ตามเกณฑ์คุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ 7 หมวด ประกอบด้วย หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ

6 2. วัดคุณภาพจากมาตรฐานกระบวนงานพัฒนามาตรฐานการบริการ ด้านอนามัย
สิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 14 กระบวนงาน ประกอบด้วย 1.การจัดการมูลฝอย (ทั่วไป,ติดเชื้อ,อันตราย) 2.การจัดการสิ่งปฏิกูล 3.การเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉิน/สาธารณภัย 4.การจัดการข้อร้องเรียนและเหตุรำคาญ 5.การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการ 6.การเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 7.กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ 8.การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น 9.การออกคำสั่งทางปกครอง 10.การออกใบอนุญาต/การออกหนังสือรับรองการแจ้ง 11.การเปรียบเทียบปรับและการดำเนินคดี 12.การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 13.การรับรองคุณภาพสถานประกอบกิจการ 14.การพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค

7 พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การดำเนินงาน พัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี ที่ผ่านมา

8 พื้นที่ดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม
เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย บึงกาฬ อุตรดิตถ์ นครพนม อุดรธานี สกลนคร สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู พิษณุโลก กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ขอนแก่น กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท อุบลราชธานี ลพบุรี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม นนทบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง เหตุรำคาญ สุขาภิบาลอาหาร พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค HIA กฎหมาย 2 เรื่อง 3 เรื่อง 4 เรื่อง 5 เรื่อง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สงขลา ปัตตานี สตูล ยะลา นราธิวาส

9 พื้นที่ดำเนินงานการจัดการข้อร้องเรียน และเหตุรำคาญ
เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานการจัดการข้อร้องเรียน และเหตุรำคาญ แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ อุดรธานี นครพนม สกลนคร สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม สระแก้ว นนทบุรี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

10 พื้นที่ดำเนินงานระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร
เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ อุดรธานี นครพนม สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู สกลนคร พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี อุบลราชธานี ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ สุพรรณบุรี อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม สระแก้ว นนทบุรี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

11 พื้นที่ดำเนินงานการพัฒนาระบบ การจัดบริการน้ำบริโภค
เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานการพัฒนาระบบ การจัดบริการน้ำบริโภค แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ อุดรธานี นครพนม สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู สกลนคร พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม สระแก้ว นนทบุรี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

12 พื้นที่ดำเนินงานการประเมินผล กระทบต่อสุขภาพในระดับท้องถิ่น (HIA)
เชียงราย พื้นที่ดำเนินงานการประเมินผล กระทบต่อสุขภาพในระดับท้องถิ่น (HIA) แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ นครพนม สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี สกลนคร พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิจิตร ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม นนทบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

13 พื้นที่ดำเนินงานการตามกระบวนงาน ทางกฎหมาย (การใช้กฎหมายสาธารณสุข)
เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย บึงกาฬ อุตรดิตถ์ นครพนม อุดรธานี สกลนคร สุโขทัย ตาก เลย หนองบัวลำภู พิษณุโลก กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ขอนแก่น กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ อยุธยา นครนายก ปทุมธานี ปราจีนบุรี นครปฐม นนทบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี เพชรบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด สมุทรปราการ ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กทม. ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

14 แนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 1. ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในภาพรวม (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) - พัฒนาระบบประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ขับเคลื่อนการมีต้นแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม (Triple A : Activities, Accredit, Achievement) 2.การลงนามข้อตกลงความร่วมมือ (Sign MOU) ระหว่างกรมอนามัยและกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) 3. การพัฒนาคู่มือ และเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม)

15 ต่อ 4. การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่กรมอนามัย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) 5. การพัฒนาสื่อความรู้ทางวิชาการ และสื่อประชาสัมพันธ์ ประเภทเอกสาร ประชาสัมพันธ์ และการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Website เป็นต้น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) 6. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การพัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม) 7. พัฒนาระบบฐานข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

16 ต่อ 8. ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจากมาตรฐานกระบวนงานพัฒนามาตรฐานการบริการ ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการ กรมอนามัย) 9. ทบทวนระบบประเมินการรับรองฯ ในภาพรวมและตามมาตรฐานกระบวนงานฯ (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผล กระทบต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการ กรมอนามัย) 10. ขยายผลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบ ต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการ กรมอนามัย)

17 ต่อ 11. ประเมินรับรององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 12. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาระบบคุณภาพบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เจ้าภาพหลัก สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาล อาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการ กรมอนามัย) 13. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (คณะทำงานฯ)

18 ผลที่จะได้รับจากการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ
ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีระบบบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ ประชาชนได้รับการคุ้มครองสิทธิ จากการบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

19 ติดต่อผู้รับผิดชอบ พัฒนาระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาพรวม (EHA)
คุณสุนทรีย์ รักษามั่นคง โทร กระบวนการที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคุณภาพการจัดการสุขาภิบาลอาหาร คุณชัยเลิศ กิ่งแก้วเจริญชัย โทร กระบวนการพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค คุณวิโรจน์ วัชระเกียรติศักดิ์ โทร กระบวนการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ คุณสุกานดา พัดหาดี โทร กระบวนการออกข้อกำหนดท้องถิ่น และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย คุณวิภา รุจิจนากุล โทร ผู้รับผิดชอบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. (ผู้แทนกลุ่มบูรณาการงานอนามัยสิ่งแวดล้อม) คุณพาสนา ชมกลิ่น โทร คุณนวรัตน์ อภิชัยนันท์ โทร


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google