โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
Advertisements

ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระบบเฝ้าระวัง 5 ระบบ 5 มิติ ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การเสียชีวิตของเด็กจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดพิษณุโลก
Scinario 2.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด 2553-2563 โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด 2553-2563 ความเป็นมา พ.ศ. 2531 ลงนามในสัญญาความร่วมมือกวาดล้างโปลิโอ พ.ศ. 2535 เริ่มระบบเฝ้าระวัง ผู้ป่วยที่มีอาการอัมพาตกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกอย่างเฉียบพลัน (Acute Flaccid Paralysis) พ.ศ. 2537 เริ่มรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอทั่วประเทศประจำปี ซึ่งต่อมาลดเป้าหมายลงเหลือเฉพาะกลุ่มเสี่ยง พ.ศ. 2540 รายงานผู้ป่วยโปลิโอรายสุดท้าย พ.ศ. 2547 องค์การอนามัยโลกเข้าตรวจสอบการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอในประเทศไทย ผลเป็นที่น่าพอใจ

พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอ การกำจัดโรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือ ร่วมกับประเทศอื่นในภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2010 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการ กวาดล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ. 2553-2563 และ ให้กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มี กรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

วัตถุประสงค์การดำเนินการ รักษาสถานะปลอดโรคโปลิโอในประเทศไทย ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศไทยลงเหลือไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคนในปี 2563 (ไม่เกิน 5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2558) 1 2

เป้าหมายการดำเนินงานใน 5 ปีแรก (2553-2558) การกวาดล้างโปลิโอ ให้วัคซีนโปลิโอตามระบบปกติ อย่างน้อย 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกตำบล เฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วย AFP ให้ได้ไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี รายจังหวัด และเก็บอุจจาระส่งตรวจตามเกณฑ์ 14 วันหลังวันเกิดอาการอัมพาต สอบสวนและควบคุมโรคผู้ป่วย AFP กลุ่มเสี่ยงสูงตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (สอบสวนทุกรายภายใน 48 ชั่วโมง และควบคุมโรคในรายที่กำหนดภายใน 72 ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย) รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่เด็กในพื้นที่เสี่ยงทั่วประเทศ ให้ได้ความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในตำบลที่ดำเนินการ 1 2 3 4

Polio case and OPV3 coverage, Thailand, 1961 - 2011 OPV in EPI in 1977 ประเทศไทยไม่มีโปลิโอมาตั้งแต่ปี 2540 (1997) และเราดำเนินการตามมาตรการกวาดล้างโปลิโอมาโดยตลอด รวมทั้งการรณรงค์ให้วัคซีนประจำปีซึ่งองค์การอนามัยโลกให้เป็น option The last case 1997 NID 1994 sNID 2000

กลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ประเภทที่ 1 เด็กที่อาศัยอยู่ในพื้นที่พิเศษมีความยากลำบากในการให้วัคซีนตามแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในระบบปกติ หรือ มีการการเคลื่อนย้ายประชากรสูง ประเภทที่ 2 เด็กที่อาศัยอยู่ในอำเภอที่ติดชายแดนพม่า ประเภทที่ 3 เด็กที่อาศัยอยู่ในอำเภอที่มีชุมชนชาวพม่าขนาดใหญ่ ประเภทที่ 4 เด็กที่อาศัยอยู่ในอำเภอที่มีรายงานการเกิดโรคคอตีบ หรือ หัด โดยพิจารณาผู้ป่วย เฉพาะในกลุ่มอายุต่ำกว่า 5 ปี รายอำเภอ ใช้ข้อมูล 3 ปี ย้อนหลัง (พ.ศ. 2551-2553) ถ้าพบผู้ป่วยคอตีบตั้งแต่ 1 รายขึ้นไป หรือผู้ป่วยหัดตั้งแต่ 10 รายขึ้นไป ในปีใดปีหนึ่ง ถือเป็นดัชนีชี้วัดปัญหาความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในพื้นที่

Polio Situation: Trouble in Africa, Outbreak in China, Last case in India

Rukhsar: Is she the last polio case in India? Onset 13 January 2011

การกำจัดโรคหัด เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่ จัดตั้งเครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทั่วประเทศ เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยที่สงสัยโรคหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่ รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน ในประชากรวัยทำงาน เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง 1 2 3 4

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และหญิงมีครรภ์ พ. ศ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และหญิงมีครรภ์ พ.ศ. 2542, 2546, 2551 Vaccine 2542 2546 2551 BCG 98 99 100 DTP3 97 98 99 OPV3 97 98 99 HB3 95 96 98 Measles 94 96 98 JE2 84 87 95 JE3 - 62 89 DTP4 90 93 97 DTP5 - 54 79 T2 (or booster) 90 93 93 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12

จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในประเทศไทย พ.ศ.2514 – 2554 ก่อนเริ่มโครงการกำจัดโรคหัด วินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการร้อยละ 2 เริ่มให้ M เด็ก 9-12 เดือน เริ่มให้ M นักเรียน ป.1 ให้ MMR แทน M ในนักเรียน ป.1 จำนวนผู้ป่วย การระบาดมีแนวโน้มลดลงหลังมีการให้วัคซีนหัดในปี พ.ศ.2527 และเพิ่มวัคซีนหัดเข็ม2 ในปี พ.ศ. 2540 ในเด็กชั้น ป.1 แต่มีการระบาดเพิ่มมากขึ้นในปี พ.ศ.2551 ในปัจจุบันอัตราป่วยอยู่ประมาณ 10 ต่อแสน ยังสูงกว่าเป้าหมาย ของการกำจัดโรคหัด (ปี 2563) ที่ 1 ต่อล้านมาก อย่างไรก็ตามต้องคำนึงด้วยว่าผู้ป่วยหัดส่วนใหญ่ของเรา เป็นการวินิจฉัยโดยใช้อาการทางคลีนิค ข้อมูลเฝ้าระวังโรค รง 506