หลักการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการระบุประเด็นปัญหาที่สำคัญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การลงทุนโรงไฟฟ้าถ่านหิน
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การปิด GAP การประเมินตนเองCDD. ตามการประเมินความเข้มแข็งแผนงานควบคุม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการระบุประเด็นปัญหาที่สำคัญ เอกสารหมายเลข 1 หลักการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและการระบุประเด็นปัญหาที่สำคัญ รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช LL.B., M.D., Ph.D. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 E-mail: pwiwatanadate@gmail.com

กรอบแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดโรคอันเนื่องมาจากสิ่งแวดล้อม สิ่งคุกคามตามธรรมชาติ: สิ่งคุกคามจากความทันสมัย: การขับถ่ายของเสีย การพัฒนาของมนุษย์ เหตุการณ์ตามธรรมชาติ การปลดปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม อากาศ น้ำ อาหาร ดิน การรับเข้าสู่ร่างกาย ขนาดภายนอก ขนาดดูดซึม ขนาดก่อผลกระทบภายใน ผลกระทบทางสุขภาพ ระยะก่อนมีอาการ ระยะเฉียบพลัน ระยะเรื้อรัง

การเฝ้าระวัง “การเฝ้าคุมเหตุการณ์ด้านสุขภาพในประชากรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อผลในการป้องกันและควบคุมภาวะสิ่งคุกคามในสิ่งแวดล้อมที่มีความเกี่ยวข้องกับโรค”

ความสำคัญของระบบเฝ้าระวัง โรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมมักเป็นโรคเรื้อรัง ใช้เวลานานในการเกิดโรค โรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมมักเกิดจากเหตุปัจจัยหลายชนิดร่วมกัน การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมในระดับบุคคลมักทำได้ยากหรือทำไม่ได้เลย แต่สามารถวินิจฉัยในระดับกลุ่มคนได้

ความสำคัญของระบบเฝ้าระวัง เป้าประสงค์ของระบบเฝ้าระวัง เพื่อหามาตรการการป้องกันแก้ไขให้เร็วที่สุดก่อนที่โรคจะลุกลามออกไป หลักการในการป้องกัน คือ การค้นหาปัจจัยเสี่ยง และทำการป้องกันหรือควบคุมปัจจัยเสี่ยงนั้น “ปัจจัยเสี่ยงในวันนี้ คือโรคในวันพรุ่งนี้”

วัตถุประสงค์และประโยชน์ของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรคหรือปัญหาก่อนที่โรคหรือปัญหานั้นจะเกิด ช่วยในการวางแผนด้านบริการและจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ทำนายการเกิดโรคที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต กำกับและประเมินผลโครงการที่ดำเนินการแก้ปัญหา

วัตถุประสงค์และประโยชน์ของระบบเฝ้าระวัง สามารถตรวจจับอาการหรือโรคในระยะเริ่มต้นและจำนวนผู้ที่เป็นโรคได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Impact Assessment) ช่วยในการพัฒนาระบบเตือนภัย

ชนิดของการเฝ้าระวัง การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Effect Surveillance) การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม (Hazard Surveillance)

การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive Surveillance) “กิจกรรมที่ดำเนินการโดยหน่วยงานของรัฐเพื่อเฝ้าคุมและติดตามการเกิดโรคภายในสถานบริการอย่างต่อเนื่อง” การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance) “กิจกรรมการค้นหาผู้ป่วยนอกพื้นที่”

การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม “คือการเฝ้าคุมสิ่งคุกคามที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมของประชากรกลุ่มเสี่ยง” การเฝ้าคุมสิ่งแวดล้อม (Environment monitoring) การเฝ้าคุมที่บุคคล (Personal monitoring)

ขั้นตอนการเฝ้าระวัง รวบรวมข้อมูลการเกิดโรค จัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ข้อมูล รายงานผลการวิเคราะห์แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการแก้ไขสาเหตุเพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ

หลักเกณฑ์การระบุประเด็นปัญหาที่สำคัญ เป็นปัญหาที่มีขอบเขตในเชิงพื้นที่เป็นวงกว้าง เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในประชากรจำนวนมาก ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาที่ร้ายแรง ยากต่อการรักษาหรือไม่สามารถกลับคืนได้ ทำให้เจ็บป่วยรุนแรงถึงชีวิต สามารถส่งผลไปถึงคนรุ่นต่อไปได้ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาอย่างรุนแรง เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม

กรณีปัญหากากสารเคมีที่ Love Canal

ภาพถ่ายทางอากาศของบริเวณ Love Canal ซึ่งเป็นที่ทิ้งกากของเสียอันตราย

Toxic Waste in Love Canal Residents of the Love Canal area in Niagara Falls were forced to evacuate when hazardous wastes leaking from a former disposal site threatened their health and homes in the late 1970s. One of the most notorious cases of toxic waste leakage, the crisis received attention on both local and national levels. Investigation spurred by public outrage revealed that many waste disposal sites like Love Canal existed nationwide; New York alone had several hundred. Several states passed stricter regulations on industrial waste disposal and allocated billions of dollars for the cleanup of contaminated areas.

เลิฟแคเนลที่ถูกล้อมรั้วปิดเอาไว้