การรวมกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรม แนวทางการพัฒนา การรวมกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรม
แนวคิดเกี่ยวกับความสำเร็จของธุรกิจ Michael E. Porter แนวคิดเกี่ยวกับความสำเร็จของธุรกิจ ความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันอยู่ภายในธุรกิจหรืออุตสาหกรรม ความสำเร็จในการแข่งขันในเบื้องต้นขึ้นอยู่กับการเลือกของตัวธุรกิจเอง ภายใน ภายนอก ความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันบางส่วนขึ้นอยู่กับพื้นที่ การรวมกลุ่มในรูปแบบคลัสเตอร์เป็นส่วนสำคัญที่ก่อให้เกิดความสำเร็จของธุรกิจ ความมั่งคั่ง PROSPERITY การแข่งขัน COMPETITIVENESS (PRODUCTIVITY) ความสามารถ ทางนวัตกรรม INNOVATION CAPACITY ความมั่งคั่งของอุตสาหกรรม เป็นการสร้าง ไม่ใช่การสืบทอด ผลิตภาพไม่ได้ขึ้นอยู่กับอะไร ที่อุตสาหกรรมแข่งขัน แต่ขึ้นกับว่าจะแข่งขันอย่างไร ความมั่งคั่งของภูมิภาค ขึ้นกับผลิตภาพทั้งหมด ของอุตสาหกรรม
หลักการพื้นฐานของการพัฒนาการรวมกลุ่ม MOVE FROM “ ME” TO “US” มีพื้นฐานของความไว้วางใจ มีสุขร่วมเสพ มีทุกข์ร่วมต้าน มีกาวใจ การประหยัดจากขนาด การเพิ่มอำนาจการต่อรอง ช่องทางเข้าถึงลูกค้ารายใหญ่ ความสามารถในการเรียนรู้ และสร้างนวัตกรรม การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
What is a Cluster? ไม่มีสิ่งที่เรียกว่า “cluster ในฝัน” “A cluster is a grouping of industries linked through customer, supplier and other relationships which enhance competitive advantage” Michael E. Porter Cluster หมายถึงการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกัน ตั้งแต่ลูกค้า ผู้ค้าวัตถุดิบ และ ส่วนอื่นที่สัมพันธ์กัน ซึ่งสร้างเสริมเพิ่มความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน ไมเคิล อี พอร์ตเตอร์ ไม่มีสิ่งที่เรียกว่า “cluster ในฝัน” ทุก cluster แตกต่างกันตาม… ขนาด อุตสาหกรรม การเติบโตเต็มที่ การกระจายตัวตามสภาพภูมิศาสตร์ ความรู้ กลยุทธ์จึงต้องเหมาะสมสำหรับแต่ละ cluster
ก่อนจะดำเนินการเกี่ยวกับ CLUSTER จุดเริ่มต้นที่สำคัญ คัดเลือกผู้นำที่มีความยึดมั่นในพันธะสัญญาสูง ให้แน่ใจว่ามีทรัพยากรที่พร้อมตลอดกระบวนการ เลือกจุดเน้นทางภูมิศาสตร์ที่ถูกต้อง รักษาสมดุลในระหว่างกระบวนการ ข้อที่ควรจำคือ “CLUSTER ใช้เวลา” cluster อาจใช้เวลาทั้งทศวรรษ กลยุทธ์อาจทำให้รู้สึกว่ายาวนานกว่าจะสำเร็จ
ความแตกต่างและนวัตกรรม CLUSTER ในทางปฏิบัติ ความแตกต่างและนวัตกรรม พัฒนาความเป็นหุ้นส่วนที่เข้มแข็งระหว่าง ภาครัฐและเอกชน - ธุรกิจเป็นได้ทั้งลูกค้าและหุ้นส่วน ดำเนินการข้ามขอบเขตของอุตสาหกรรมและพื้นที่ เน้นตัวจักรสำคัญในการเติบโต พัฒนาการเชื่อมโยง ภายในคลัสเตอร์ สนับสนุน เป้าหมายที่กำหนด บูรณาการ แผนปฏิบัติงาน
CLUSTERS การที่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีความรู้ความเข้าใจ ความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันและส่งผลดี ให้กับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างยั่งยืน การที่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีความรู้ความเข้าใจ ในกระบวนการพัฒนาคลัสเตอร์ ที่ถูกต้องตรงกันเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง CLUSTERS กระบวนการในการพัฒนาการรวมกลุ่มธุรกิจ Cluster Development Process CLUSTER ไม่ใช่สิ่งที่ใครจะสร้างขึ้นมาก็ได้ เนื่องจาก CLUSTER เป็นกระบวนการของการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะกลุ่มวิสาหกิจใน value chain
กระบวนการการพัฒนา CLUSTER The World Bank View การขับเคลื่อน Mobilization การวินิจฉัย Diagnosis กลยุทธ์ การร่วมมือ Collaborative Strategy การดำเนินงาน Implementation การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการของ cluster กลุ่มร่วมกันขับเคลื่อนโครงการ กิจกรรม การจัดสรรประโยชน์อย่างทั่วถึง การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การดึงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เข้ามารวมกัน บ่มเพาะทั้งภาครัฐและเอกชน กำหนด “champions” และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการเข้ามามีส่วนร่วม การมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม การวิเคราะห์ cluster เทียบเคียง(benchmark) กับภูมิภาคอื่น ประเมินอุปสรรคและโอกาส การสร้างเหตุการณ์ ที่จะทำให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาร่วมกัน สร้างกลุ่มทำงานของ cluster เพื่อปฏิบัติการ ผู้นำจะต้องมีบารมีในการชักชวนผู้อื่นเข้ามามีส่วนร่วม พัฒนาและประเมินแผนการปฏิบัติงาน สร้างกลุ่มผู้บริหารที่จะดูแลกระบวนการ
นำโดยกลุ่มอุตสาหกรรม ภาครัฐอำนวยความสะดวก มีแผนการสืบทอดทายาทผู้นำใหม่ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินการปฏิบัติงาน Take the first step in faith. You don't have to see the whole staircase, just take the first step. Dr. Martin Luther King Jr.
VALUE คือ ประโยชน์ หรือ คุณค่า การที่จะสร้างคุณค่าอื่น ๆ หรือประโยชน์อื่น มาประกอบกันให้เป็นประโยชน์สุดท้ายที่ลูกค้าต้องการ จะมีขั้นตอนของกระบวนการสร้างคุณค่าที่ต่อเนื่องกันเป็นทอด ๆ เหมือนห่วงโซ่ของกิจกรรมที่มีความเกี่ยวพันกัน เพื่อสร้างประโยชน์สุดท้ายในผลิตภัณฑ์หรือบริการ เพื่อนำส่งต่อไปให้ลูกค้า กระบวนการเหล่านี้เรียกว่า Value Chain หรือ โซ่คุณค่า การดำเนินการขององค์กรคือกระบวนการสร้างคุณค่า (Value Creation Process) WHAT IS A VALUE CHAIN? การจัดการเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ลูกค้าคือการสร้างคุณค่า (Value) ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ (Product) หรือ การบริการ (Service) VALUE คือ ประโยชน์ หรือ คุณค่า
STRATEGIC SYSTEM and THE VALUE CHAIN การจัดการและการวางแผน การเงิน การบัญชี ทรัพยากรบุคคล ระบบสารสนเทศ ปัจจัยพื้นฐานขององค์กร การพัฒนา สินค้า บริการ การผลิต สินค้า บริการ การตลาด และ การขาย การกระจาย สินค้า ลูกค้าของ ลูกค้า Suppliers การบริการ ลูกค้า กระบวนการสร้างคุณค่า (Value Creation Process) SUPPLY CHAIN MANAGEMENT GLOBAL COMMUNICATIONS ช่วย Suppliers จัดการ ธุรกิจ ยกระดับ สินค้า ด้วยการใช้ ข้อมูล ให้ข้อมูล การกระจาย สินค้าแก่ ลูกค้า การบริการ ข้อมูล ช่วยลูกค้าและลูกค้า ของลูกค้าจัดการ ธุรกิจ การ ควบคุม คุณภาพ อำนวย ความสะดวก ลูกค้า e-Marketing กำหนดสินค้า/บริการพิเศษเฉพาะ
กระบวนการสร้างคุณค่า (Value Creation Process) มูลค่า ที่เพิ่มขึ้น มูลค่า ที่เพิ่มขึ้น มูลค่า ที่เพิ่มขึ้น SUPPLIER’S VALUE CHAIN CHANNEL’S VALUE CHAIN CUSTOMER’S VALUE CHAIN ORGANIZATION’S VALUE CHAIN กระบวนการสร้างคุณค่า (Value Creation Process)
โซ่คุณค่า (Value Chain) กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) ปัจจัยพื้นฐานขององค์กร Firm infrastructure การพัฒนาคน Human resource management Support activities Margin การพัฒนาเทคโนโลยี Technology development การจัดหา Procurement การขนส่ง แจกจ่าย จัดเก็บ บริหาร คลังสินค้า จัดการ วัตถุดิบ การจัดเก็บ รวบรวม จัดจำหน่าย สินค้าและ บริการ ที่เสร็จแล้ว ไปยังผู้บริโภค การขาย การส่งเสริม การตลาด จัดจำหน่าย ทีมขาย ช่องทาง กำหนดราคา บริการเพิ่มเพิ่ม คุณค่าหรือ บำรุงรักษา สินค้าบริการ หลัง การขาย การแปรรูป บรรจุหีบห่อ ดูแล เครื่องจักร การทดลอง Primary Activities Margin กิจกรรมหลัก (Primary Activities)
INTERNAL VALUE CHAIN SUPPLIER’S VALUE CHAIN CHANNEL’S VALUE CHAIN CUSTOMER’S VALUE CHAIN ORGANIZATION’S VALUE CHAIN INTERNAL VALUE CHAIN
OF COMPETITIVE ADVANTAGE Sources of Competitive Advantage Industry Factors Broader Environment Internal Factors ประสิทธิภาพ ปัจจัยพื้นฐานขององค์กร Firm infrastructure การพัฒนาคน Human resource management Margin คุณภาพ การพัฒนาเทคโนโลยี Technology development การจัดหา Procurement การตอบสนอง ลูกค้า การขนส่ง แจกจ่าย จัดเก็บ บริหาร คลังสินค้า จัดการ วัตถุดิบ การจัดเก็บ รวบรวม จัดจำหน่าย สินค้าและ บริการ ที่เสร็จแล้ว ไปยังผู้บริโภค การขาย การส่งเสริม การตลาด จัดจำหน่าย ทีมขาย ช่องทาง กำหนดราคา บริการเพิ่มเพิ่ม คุณค่าหรือ บำรุงรักษา สินค้าบริการ หลัง การขาย การแปรรูป บรรจุหีบห่อ ดูแล เครื่องจักร การทดลอง Margin นวัตกรรม INTERNAL FOUNDATIONS OF COMPETITIVE ADVANTAGE
Strategic Alignment Triangle Lockamy & Smith STRATEGY PROCESS CUSTOMER