ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2 ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1.การมีส่วนร่วมของชุมชน 2.วิถีชุมชน/เกษตรกรรม : - ระบบความสัมพันธ์ชุมชน - วัฒนธรรมชาวนา : วันที่ / ผี / ขวัญ/ควาย 3.การปะทะอำนาจรัฐ/ชุมชน /พระ/ผี 4.กระบวนทัศน์ต่อสิ่งแวดล้อมของชุมชน : - การทำนายทายทัก - การต่อรองเซ่นสรวงบูชา
บทที่ 6 การจัดการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สาระการเรียนรู้ บทที่ 6 การจัดการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สาระการเรียนรู้ ความหมายการจัดการและอนุรักษ์ แนวทางในการจัดการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การมีส่วนร่วมของประชาชนในการมีส่วนร่วมด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม 2
สภาพการณ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเพิ่มของประชากร การพัฒนาเทคโนโลยี การคมนาคม ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม การลงทุน นโยบายของรัฐ ปัญหาการเมือง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ความพยายามป้องกันแก้ไข 3
นิยาม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ได้ทำขึ้น การอนุรักษ์ หมายถึง การตามระวังรักษา ป้องกันธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไว้เพื่อใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมด้วยวิธีที่ฉลาด เหมาะสม และยาวนานที่สุด 4
ระดับของการ “อนุรักษ์” 1. การสงวนและหวงห้าม หมายถึง การอนุรักษ์ในลักษณะที่ต้องมีการควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด และเข้มงวดกวดขันกับการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติที่จำกัดและสุ่มเสี่ยงสูญ 2. การอนุรักษ์ เป็นระดับการอนุรักษ์ที่มีการควบคุมดูแล และเข้มงวดกวดขันกับการใช้ประโยชน์ของทั้งทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งทรัพยากรธรรมชาตินั้น ๆ โดยให้มีการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5
องค์ประกอบการจัดการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1.การบริหาร (Administration) 2.กฎและระเบียบ (Laws and Regulations) 3.โครงการ (Projects)
1.1) นโยบายและแผนการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1) การบริหาร : การจัดการหรือการบริหารงานตามแผนการดำเนินงาน หรือนโยบายที่ดีของหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบและการร่วมมือประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย 1.1) นโยบายและแผนการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1.2) หน้าที่ขององค์กรบริหารระดับต่าง ๆ 1.3) การรวบรวมปัญหาและสาเหตุที่แท้จริงการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ 1.4) สภาพการใช้ที่ดิน หรือสภาพการถือครองที่ดิน 7
2.1) การควบคุมการกระทำของมนุษย์ เพื่อหยุดยั้งหรือลดการกระทำ 2) กฎและระเบียบ กฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน เพื่อการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยคำนึงถึง 2.1) การควบคุมการกระทำของมนุษย์ เพื่อหยุดยั้งหรือลดการกระทำ 2.2) การป้องกันโดยตระเตรียมล่วงหน้าเพื่อไม่ให้ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมถูกทำลาย หรือไม่ให้มีการทำลายเพิ่มขึ้น 2.3) การแก้ไขคือกำหนดมาตรการในการแก้ไขอย่างชัดเจน เพื่อให้ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ถูกทำลายได้มีโอกาสกลับฟื้นคืนสู่สภาพปกติ เช่น การกำหนดกฏหมาย 8
โครงการ (Projects) แผนดำเนินการฟื้นฟู ปรับปรุง และส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้ถูกทำลายลงไป ทั้งโดยธรรมชาติและมนุษย์ ลักษณะโครงการที่ดี 1. จะต้องมองภาพรวมในทุก ๆ ด้านทั้งดีและเสีย 2. มองอนาคตระยะสั้น-ยาว 3. คำนึงผลกระทบ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อม หมายถึง หน่วยงานของภาครัฐบาล ภาคเอกชน องค์กรเอกชน กลุ่มคน และประชาชนทั่วไป ที่อาจจะได้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์จากการมีโครงการหรือกิจการ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 ในข้อ 5.3 เรื่องแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม โดยมีการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2535 มาตรา 19
ปัญหาการมีส่วนร่วม 1. การเข้าถึงข้อมูล 2. การกำหนดขั้นระดับการมีส่วนร่วม 3. การเบี่ยงเบนความสนใจ
จบการนำเสนอ