IS 204420 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 1 รายวิชา 204420 คอมพิวเตอร์เพื่อการ เรียนรู้ หน่วยที่ 5 “ แนวคิดและหลักการ ออกแบบ บทเรียนช่วยสอนบนเว็บ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ หน่วยที่ 5
Advertisements

การพัฒนาการเรียนการสอน ในรายวิชา หลักการออกแบบกราฟิก แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิก โดยใช้เกมโลโก้ อิเล็กทรอนิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 นายธนาลักษณ์
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
การพัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบงานทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร
แบบสอบถาม (Questionnaire)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Entity-Relationship Model E-R Model
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
Programs of the Intel® Education Initiative are funded by the Intel Foundation and Intel. Copyright © 2007, Intel Corporation. All rights reserved. Intel,
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
วัตถุประสงค์ 1. แสดงรายการของโปรแกรม ที่และสถานการทำงานของ โปรแกรม 2. แสดงรายการบริการที่มี บน ระบบปฏิบัติการ 3. แสดงกราฟการใช้ ตัว ประมวลผล 4. แสดงกราฟการทำงานการ.
มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศ การเรียนการสอน 5 กับ
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ครูผู้สอนกลุ่มธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
กำธร สุทธิรัตน์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
BIT การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  MFS2101 การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design) 2. หัวข้อที่ประจำสัปดาห์นี้ 2.1 พฤติกรรมของผู้บริโภคสารสนเทศ 2.2.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
ความหมายสัญลักษณ์ของ BPMN 2.0
ความหมายสัญลักษณ์ของ BPMN 2.0
วัตถุประสงค์การวิจัย
Integrated Information Technology
Media Literacy การรู้เท่าทันสื่อ.
การศึกษาประเภทเสียงและความหมายของคำในกลุ่มภาษาต่างประเทศ
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
การใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  MFS2101 การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design) 2. หัวข้อที่ประจำสัปดาห์นี้ 2.1 พฤติกรรมของผู้บริโภคสารสนเทศ 2.2.
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 1 รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการ เรียนรู้ หน่วยที่ 5 “ แนวคิดและหลักการ ออกแบบ บทเรียนช่วยสอนบนเว็บ ”

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข สื่อในระบบการศึกษา ทางไกล 5.2 Web - based Instruction (WBI)

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข สื่อในระบบการศึกษา ทางไกล Same Time / Same Place Same Time / Different Place Different Time / Same Place Different Time / Different Place (The 4-Square Map of Groupware Option-Johansen et al.)

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับ WBI ปฏิสัมพันธ์ใน WBI หลักและเทคนิคการ ออกแบบ WBI 5.2 Web-based Instruction (WBI)

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับ WBI 1) ความหมายของ WBI 2) ลักษณะการใช้ Web เพื่อการเรียนการสอน ในปัจจุบัน 3) ลักษณะสำคัญของ WBI

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 6 The instruction delivered via the Web to a remote audience is called web-based instruction (Relan & Gillani, 1997). ก. ความหมายของ WBI

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 7 การสอนบนเว็บเป็น โปรแกรมการเรียนการสอน ในรูปของสื่อหลายมิติ (hypermedia) ที่นำ คุณลักษณะและทรัพยากร ต่าง ๆ ที่มีอยู่ใน Web มาใช้ ประโยชน์ในการจัด สภาพแวดล้อมที่สนับสนุนให้ เกิดการเรียนรู้ (Khan,1997)

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 8 ข. ลักษณะการใช้ Web เพื่อ การเรียนการสอนในปัจจุบัน 1. The Web as Source of Information 2. The Web as Electronic Book 3. The Web as Teacher 4. The Web as a Communication Medium between Teacher and Students

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 9 ค. ลักษณะสำคัญ ของ WBI - Simply developing a Website with links to other webpages does not constitute instruction (Ritchie & Hoffman, 1997).

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 10 3) ลักษณะสำคัญ ของ WBI ต่อ - What is unique about WBI is not its rich mix of media features such as text, graphics, sound, animation, and video, nor its linkages to information resources around the world, but the pedagogical dimensions that WBI can be designed to deliver (Reeves, 1997).

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 11 คุณลักษณะเฉพาะของ บทเรียนช่วยสอนบนเว็ป (Web- based Instruction-WBI) มิได้ อยู่ที่การนำเสนอคุณลักษณะ ต่างๆ ของสื่อเป็นจำนวนมาก เช่น ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง ภาพเคลื่อนไหวและภาพทัศน์ หรือแม้แต่การเชื่อมโยงไปยัง แหล่งสารสนเทศต่างๆ ทั่วโลก หากแต่เป็นมิติทางการสอนที่ บทเรียนช่วยสอนบนเว็ปได้รับการ ออกแบบให้สามารถส่งไปยัง ผู้เรียนได้

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข ปฏิสัมพันธ์ใน WBI 1) Instructional Interaction - ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้เรียนกับบทเรียน 2) Social Interaction - ผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 13 WBI with Instruction- only Interaction Mode --A WBI that provides features for instructional interaction including hyperlinks, FAQs, exercises, and with instructor.

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 14 WBI with Social and Instructional Interaction Mode --A WBI that provides features for social interaction and instructional interaction including , distribution lists, chatgroups, bulletin boards, hyperlinks, FAQs, and exercises.

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข หลักและเทคนิคการ ออกแบบ WBI 1) Links 2) HCI

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 16 Links ความหมายของ Links Links คือช่องทางที่เชื่อมต่อข้อมูล ระหว่าง page, field ลักษณะของ Links 1. บอกทิศทาง (Directionality: one - way links, two-way links) 2. มีข้อความอธิบาย (Labeling: names, standard icons) 3. ขนาดเหมาะสม 4. ได้รับการจัดกลุ่ม (grouped together) 5. มองเห็นชัดเจน (Visibility)

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 17 ข้อแนะนำในการใช้ Links 1. ใช้ลูกศรซ้าย - ขวา หรือบน - ล่าง แสดงการเรียงลำดับของเนื้อหา 2. เมื่อใช้ลูกศรซ้าย - ขวา แสดงความ ต่อเนื่องของเนื้อหาเรื่อง เดียวกันแต่มีหลายหน้า ให้ลบลูกศร ซ้ายของหน้าแรก และ ลูกศรขวาหน้าสุดท้าย 3. หลีกเลี่ยงการ scrolling ในกรณีที่ เนื้อหาไม่จบในหนึ่งหน้า ให้ใช้ หลัก x of y strategy 4. ใช้แผนภาพแสดงให้ทราบว่าผู้เรียน กำลังอยู่ตรงเนื้อหาส่วนไหน

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 18 Human-Computer Interface (HCI) Design ความหมายของ HCI - The layer of the software that communicates directly to and interacts with users (Marra, 1996). องค์ประกอบสำคัญของ HCI - all messages to users; - interactions, flow, or navigation between screens or other various parts of the program; - interrelationship between messages within the program; and screen designs.

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 19 หลักพื้นฐานของ HCI 1. วิเคราะห์กลุ่มผู้เรียนเพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนา HCI 2. พยายามทำให้ Interface มี ลักษณะเรียบง่ายโดยจำกัด ทางเลือกให้ผู้เรียน 3. ออกแบบ Interface ให้ส่งเสริม ผู้เรียนมีความกระตือรือล้น ที่จะทำแต่ละงานให้สำเร็จ 4. ออกแบบ Interface ให้มีระดับ ความยากง่ายสอดคล้องกับ ระดับการเรียนรู้ของผู้เรียน

IS คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ c อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 20 กฎพื้นฐานการออกแบบหน้าจอ สำหรับ WBI - choose a style and stick to it - avoid too much text - only use graphics for a purpose - don ’ t have lots of hyperlinks scattered through the text - use meaningful headings and subheadings - complex graphics will take time to load so put a simple text explanation - avoiding using too many fonts (no more than two) - edit text thoroughly