ระบบฐานข้อมูล ใน Microsoft Access. ฟอร์ม (Form) เป็นเครื่องมือในการแสดงผลข้อมูล ที่มีความสามารถในการทำงานกับข้อมูล ในตารางแทนมุมมอง Datasheet และใช้ เป็นหน้าจอควบคุมการทำงานของระบบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ซอฟต์เเวร์ที่สนใจ.
ระบบฐานข้อมูล ใน Microsoft Access
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
พื้นฐานการใช้งานโปรแกรมAdobe Photoshop
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
Microsoft Excel
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
การใช้งาน Microsoft Excel
นาย ชญานิน ฉวีอินทร์ รหัส กลุ่ม PE11 ตอนเรียน B06.
คู่มือการใช้งานการซื้อกระดาษ
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม หลังจากเข้าสู่โปรแกรม ระบบปฏิบัติการ MS_WINDOWS สามารถเข้า สู่โปรแกรม Access ได้หลายวิธี ตามขั้นตอน ต่อไปนี้ วิธีที่ 1 เลือกเมนู Start.
ฟอร์ม From หมายถึง การออกแบบการจัดการข้อมูล โดยจะทำการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลในรูป Table/Ouery เพื่อติดต่อกับผู้ใช้ให้เกิดความ สะดวกในการติดต่อข้อมูล เช่น.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
การใช้โปรแกรม Microsoft Word XP Microsoft Word XP.
ศูนย์สารสนเทศ กรมป่าไม้. 1) การทำงานของระบบ 2) วิธีการใช้งานเบื้องต้น 3) การใช้งานระบบติดตามการบุกรุกทำลายป่า.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
IT Manual SCM June 2016 By Prasert Dokmuang. 2 3.
เรื่อง แนะนำโปรแกรม Microsoft excel หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
ระบบฐานข้อมูลบริการวิชาการ ของสำนักงานบริการวิชาการ ระเบียบพัฒนาวิชาการ พ. ศ.2551 คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมูล บริการวิชาการ – สะดวก รวดเร็ว ไม่ซับซ้อน.
ความหมายของ Form หมายถึง การออกแบบการจัดการข้อมูล โดยจะทำการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลในรูป Table/Query เพื่อติดต่อกับผู้ที่ใช้ให้เกิด ความสะดวกในการติดต่อข้อมูล.
1 ปฏิบัติการที่ 03 การใช้งาน โปรแกรม Microsoft PowerPoint.
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
การออกแบบและเทคโนโลยี
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
โปรแกรม Microsoft office word 2010
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
Introduction to VB2010 EXPRESS
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Introduction SQLite Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
การเขียนโปรแกรมสั่งงานตัวควบคุม (Control)
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การสร้างฟอร์มย่อย การสร้างฟอร์มย่อยและรายงานย่อย
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การใช้งานเครื่องมือพื้นฐานของ BI
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ขอต้อนรับสู่ PowerPoint
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การค้นหาข้อมูลด้วยฟอร์ม
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
ProQuest Dissertations & Theses
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบฐานข้อมูล ใน Microsoft Access

ฟอร์ม (Form) เป็นเครื่องมือในการแสดงผลข้อมูล ที่มีความสามารถในการทำงานกับข้อมูล ในตารางแทนมุมมอง Datasheet และใช้ เป็นหน้าจอควบคุมการทำงานของระบบ ฐานข้อมูลที่สร้างขึ้น

ประโยชน์ของฟอร์ม (Form) 1. สามารถกำหนดรายละเอียดต่างๆ ของ ฟอร์มให้เหมาะสมกับจุดประสงค์ในการ ใช้งานได้ 2. จัดระเบียบในการแสดงผลฟิลด์ต่างๆ ได้ตามความต้องการ 3. เพิ่มความน่าสนใจให้แก่การแสดง ข้อมูล เช่น การแสดงรูปภาพประกอบ 4. สามารถนำมาโคร หรือ คำสั่ง VBA (Visual Basic Applcation) มาใช้ ควบคุมการทำงานกับข้อมูลในฟอร์มได้

มุมมองของฟอร์ม (Form) 1. Design View มุมมองออกแบบ ใช้ใน การสร้าง หรือ แก้ไขดัดแปลงฟอร์ม 2. Datasheet View มุมมองแผ่นข้อมูลใช้ แสดงข้อมูลในแบบของตาราง 3. Form View มุมมองฟอร์ม ใช้แสดง ข้อมูลในรูปแบบที่สวยงามตามแบบฟอร์ม ที่ได้สร้างขึ้น

การสร้างฟอร์ม (Form) 1. Form Wizard สร้างโดยใช้ระบบชำนาญ การของ Access จะได้ฟอร์มในรูปแบบที่ ต้องการอย่างรวดเร็ว 2. Design View สร้างฟอร์มโดยใช้ เครื่องมือต่างๆ ซึ่งสามารถกำหนด รายละเอียดต่าง ได้มากกว่า Form Wizard

การสร้างฟอร์มอย่างง่ายด้วย AutoForm สร้างฟอร์มได้ 3 ประเภทเท่านั้น คือ 1. แบบ Columnar 2. แบบ Tabular 3. แบบ Datasheet

ตัวอย่างนี้เป็นการสร้างฟอร์ม แบบ Tabular แสดงฟิลด์ ทุกฟิลด์จากตาราง TblCustomers ทำตามขั้นตอนดังนี้ 1.1 เลือกแท็บ Forms 1.2 Click mouse 2.1 เลือก AutoForm: Tabular 2.2 เลือกตาราง TblCustomers 2.3 Click mouse

3.1 ผลลัพธ์ของตารางที่สร้างขึ้นมา จะแสดงฟิลด์ทุกฟิลด์ของตาราง TblCustomers

การสร้างฟอร์มรูปแบบต่างๆ ด้วย Form Wizard เราจะใช้ตาราง TblProducts ที่มีโครงสร้าง และเราจะ สร้างฟอร์มแบบ Columnar แสดงผลข้อมูลฟิลด์ ProductName และ UnitPrice ในตาราง TblProduct ที่มีผลลัพธ์ ดังรูป ตาราง TblProducts ProductID (PK) CategoryID ProductName UnitPrice VATFlag UnitInStock ฟิลด์ที่มี PK ตามหลังจะเป็น Primary Key

1.1 เลือกแท็บ Form 1.2 Click mouse 2.1 เลือก Form Wizard 2.2 Click mouse 3.1 เลือกตาราง TblProducts 3.2 เลือกฟิลด์ PrductName, UnitPrice 3.3 Click mouse

4.1 เลือกรูปแบบเป็น Columnar 4.2 Click mouse 5.1 เลือกลวดลายของฟอร์ม 5.2 Click mouse

6.1 ใส่ชื่อฟอร์มที่สร้างขึ้นมา 6.2 Click mouse 7. ผลลัพธ์ของฟอร์มที่สร้างขึ้นมา จะแสดงฟิลด์ ProductName, UnitPrice ของตาราง TblProducts

การใช้งานฟอร์มตัวอย่าง ดังรูป 1. ไปเรคอร์ดที่ต้องการโดยใช้ Record Selector 2. Click mouse เพิ่มเรคอร์ด 3. ลบเรคอร์ดโดย Click mouse ปุ่ม Record Selector แล้วกดปุ่ม 4. แก้ไขเรคอร์ดโดยพิมพ์ค่าใหม่ลงไป

การสร้างฟอร์มแบบมีฟอร์มย่อยด้วย Form Wizard ตัวอย่างนี้ เราจะสร้างฟอร์มย่อย โดยใช้ข้อมูล จากตาราง TblOrders และ TblOrderDetails ที่มี โครงสร้าง และความสัมพันธ์ระหว่างตาราง ดังรูป ข้างล่าง ตาราง TblOrderDetails TblOrderID ProductID (PK) ProductCount Discount ตาราง TblOrders OrderID (PK) CustomerID OrderDate ShippedDate N1 ฟอร์มหลักทำงานกับเรคอร์ดของตาราง TblOrder ฟอร์มย่อยทำงานกับเรคอร์ด ของตาราง TblOrderDetails ที่สัมพันธ์กับตาราง TblOrders

1.1 เลือกแท็บ Forms 1.2 Click mouse 2.1 เลือก Form Wizard 2.2 Click mouse 3.1 เลือกตาราง TblOrders, TblOrderDetails 3.2 เลือกฟิลด์ทุกฟิลด์จากตารางทั้งสอง 3.3 Click mouse

4.1 เลือก by TblOrders 4.2 เลือก Form with subform(s) 4.3 Click mouse 5.1 เลือกชนิดของฟอร์มย่อย 5.2 Click mouse

6.1 เลือกรายละเอียดกราฟฟิกของฟอร์มหลัก และฟอร์มย่อย 6.2 Click mouse 7.1 ใส่ชื่อฟอร์มหลัก และฟอร์มย่อย 7.2 Click mouse 8.1 ผลลัพธ์ของฟอร์มที่สร้าง 8.2 ฟอร์มหลักทำงาน กับตาราง TblOrders 8.3 ฟอร์มย่อยทำงานกับเรคอร์ดของตาราง TblOrderDetails ที่สัมพันธ์กับเรคอร์ดของตาราง TblOrders

รายงาน (Report) เป็นเครื่องมือ (Object) ที่ใช้ในการ สร้างรายงานเพื่อแสดงข้อมูลจาก ตารางในรูปแบบของสิ่งพิมพ์

ประโยชน์ของรายงาน (Report) 1. จัดกลุ่มของข้อมูล หาผลรวมของ ข้อมูลในกลุ่ม 2. สร้างเอกสารต่างๆเพื่อแสดงข้อมูล ในตาราง 3. สร้างฉลาก (Label) สำหรับติดหน้า ซองจดหมาย

ความแตกต่างระหว่าง ฟอร์ม กับรายงาน 1. การแก้ไขข้อมูล 2. การกำหนดรูปแบบการแสดงผล ข้อมูล 3. การแสดงผลข้อมูล

มุมมองของรายงาน (Report) 1. Report Design มุมมองออกแบบ ใช้สำหรับการสร้างและปรับปรุงแบบของ รายงาน 2. Print Preview ตัวอย่างก่อนพิมพ์ ใช้สำหรับแสดงตัวอย่างรายงานทั้งหมด บนหน้าจอก่อนสั่งพิมพ์ 3. Layout Preview แสดงตัวอย่างเค้า โครงคล้ายกับ Print Preview แต่จะ แสดงตัวอย่างรายงานก่อนพิมพ์เพียง หน้าเดียว

การสร้างรายงาน (Report) 1. Report Wizard สร้างโดยใช้ระบบ ชำนาญการของ Access จะได้รายงาน ในรูปแบบที่ต้องการออกมาอย่างรวดเร็ว 2. Report Design เป็นการสร้างโดย ใช้เครื่องมือต่างๆ จะกำหนดรายละเอียด ได้มากกว่า การสร้างด้วย Report Wizard

การสร้างรายงานอย่างง่าย ด้วย AutoReport การสร้างรายงานด้วย AutoReport จะเป็นการ สร้างรายงานอย่างรวดเร็วจาก ตาราง หรือคิวรีที่เราเลือกเพียง 1 ตาราง หรือคิวรีเท่านั้น ตัวอย่างการสร้างรายงานแบบ Columnar แสดง ข้อมูลจากตาราง TblCustomers ทำตามขั้นตอนดังนี้ 1.1. ให้เราเลือกแท็บ Reports 1.2 Click mouse 2.1 เลือก AutoReport:Columnar 2.2 เลือกตาราง TblCustomers 2.3 Click mouse

3. ผลลัพธ์ของรายงานที่สร้าง จะเป็นรายงานแบบ Columnar ที่แสดงข้อมูลจากตาราง TblCustomers

การสร้างรายงานด้วย Report Wizard การสร้างรายงานด้วย Report Wizard นี้ เรา สามารถสร้างรายงานแบบ Group/Total ได้ รวมทั้ง รายงานแบบ Tabular และ Columnar ได้ การสร้าง รายงานแบบ Group/Total นั้นมีอยู่ 3 ชนิด คือ 1. การสร้างรายงานแบบมีการจัดกลุ่มอย่างเดียว ไม่มีการคำนวณสรุป 2. การสร้างรายงานแบบมีการจัดกลุ่ม และมีการ คำนวณสรุปด้วย 3. การสร้างรายงานแบบมีการคำนวณสรุป โดยไม่ มีส่วนรายละเอียดในกลุ่ม

การสร้างรายงานแบบมีการจัดกลุ่ม ตัวอย่างนี้ เราสร้างรายงานจากตาราง TblProducts ดังรูป โดยเราจะสร้างรายงาน สรุปรายละเอียดสินค้า แต่ละชนิดด้วย Report Wizard ที่มีผลลัพธ์ของ รายงาน ดังรูป ตาราง TblProducts ProductID (PK) CategoryID ProductName UnitPrice VATFlag UnitInStock รายงานที่มีการจัดกลุ่มสินค้าตามชนิด สินค้า และเรียงตามลำดับสินค้าแต่ละ กลุ่มตามชื่อสินค้า

1.1 ให้เราเลือกแท็บ Reports 1.2 Click mouse 2.1 ให้เราเลือก Report Wizard 2.2 Click mouse 3.1 เลือกตาราง TblProducts 3.2 เลือกฟิลด์ทั้งหมดของตาราง TblProducts 3.3 Click mouse

4.1 เลือกฟิลด์ CategoryID 4.2 Click mouse 5.1 เลือกเรียงตามฟิลด์ ProductName แบบ Ascending 5.2 Click mouse

6.1 เลือกลักษณะของรายงาน 6.2 Click mouse 7.1 เลือกลวดลายของรายงาน 7.2 Click mouse

8.1 ใส่ชื่อรายงานที่สร้าง 8.2 Click mouse 9. ผลลัพธ์ของรายงานที่สร้าง จะเป็นรายงานที่แสดงข้อมูลสินค้าตามชนิดสินค้า

ขั้นตอนการ Import Excel ให้มาสู่ Access มีดังนี้ 1.1 เปิด Database ที่ต้องการ Import 2. เมนู File > Get External Data > Import 3.2 เลือก File Excel ที่จะ Import เข้า Access 3.1 เลือก File Type 4. Click mouse

5. Click mouse 6.1 Click mouse 6.2 Click mouse

7. Click mouse 8. Click mouse

9.1 เลือก No Primary Key 9.2 Click mouse 10.1 ใส่ชื่อ Table 10.2 Click mouse

11. ผลลัพท์ จะได้ตาราง Table ที่ Import มาจาก Excel

ขั้นตอนการ Export Table ของ Access ไปเป็น Excel 1. เลือก Table ที่จะ Export 2.1 เมนู File > Save As/ Export 2.2 Click mouse

3.1 ตั้งชื่อ File 3.2 เลือก Save as type 3.3 Click mouse