บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
1.
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
ตัวอย่างการวิเคราะห์ Portfolio Analysis
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ACCOUNTING FOR INVENTORY
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
วัสดุคงเหลือ.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ความเสี่ยงเรื่องการตลาด
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
1.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
จำนวนนิติบุคคลในจังหวัดเลย
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
ประชุมบุคลากรศูนย์อนามัยที่ 4
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนกันยายน 2554
ความดัน (Pressure).
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
บทที่ 10 วงจรรายได้.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
เศษส่วนและทศนิยม.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 9 สมุดรายวันเฉพาะและสมุดบัญชีแยกประเภทย่อย
บทที่ 8 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์ ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์ Return under Risk of Portfolio

ความหมายและวัตถุประสงค์ของการลงทุน กลุ่มหลักทรัพย์ที่ลงทุน (portfolio) หมายถึง หลักทรัพย์หลายๆ ชนิด แต่ละชนิดจะมีความเสียงใน ผลตอบแทนที่แตกต่างกัน ลักษณะความสัมพันธ์ของ หลักทรัพย์ในกลุ่ม อาจมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ความสัมพันธ์ของหลักทรัพย์ 2 แบบ

ลักษณะของการลงทุนในกลุ่มหลักทรัพย์ ลักษณะของการลงทุนในกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีประสิทธิภาพ 1. ผลตอบแทนของกลุ่มเพิ่มขึ้น แต่ความเสี่ยงไม่เพิ่ม 2. ผลตอบแทนของกลุ่มไม่เพิ่มขึ้น แต่ความเสี่ยงลดลง 3. ผลตอบแทนของกลุ่มเพิ่มขึ้น แต่ความเสี่ยงลดลง

วิธีการคำนวณผลตอบแทนการลงทุน รูปแบบการกำหนดราคาสินทรัพย์ทุน (the PRICING MODEL-CAMP) มีสมมติฐาน 2 ประการ ตลาดมีประสิทธิภาพ (Effictent market) ผู้ลงทุนทุกคนมี ข่าวสารเหมือนกัน ไม่มีข้อจำกัดในการลงทุน ไม่มีภาษีมา เกี่ยวข้อง ไม่มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการซื้อขาย หลักทรัพย์ ความพึงพอใจของผู้ลงทุน (Investor preference) ผู้ลงทุน ชอบลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีผลตอบแทนสูง ความเสี่ยงต่ำ โดยประเมินผลตอบแทนจากค่าผลตอบแทนที่คาดหวัง และประเมินความเสี่ยงจากค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ลักษณะของ CAMP ความเสี่ยงของกลุ่มหลักทรัพย์ มี 2 รูปแบบ 1.ความเสี่ยงที่ไม่มีระบบ (Unsystematic risk) คือความเสี่ยงเฉพาะของหลักทรัพย์ แต่ละชนิด เกิดจากสาเหตุหลายอย่าง 2.ความเสียงที่มีระบบ (systematic risk) คือ ความเสี่ยงของภาวะการณ์ต่างๆ ของตลาด ซึ่งจะ กระทบต่อหลักทรัพย์ทุกชนืด

วิธีการคำนวณค่าเบต้า( BETA=𝜷) ผลการคำนวณค่าเบต้า ค่า 𝜷=𝟏 จะถูก กระบบจากภาวะการณ์นั้น ๆ เช่นเดียวกับตลาดทั่วไป ถือว่า มีความเสี่ยงเช่นเดียวกัน หรือเท่ากับตลาด ค่า 𝜷<𝟏 จะถูก กระบบจากภาวะการณ์นั้น ๆ ต่ำกว่าตลาดทั่วไปถือว่า มีความเสี่ยงน้อยกว่าตลาด ค่า 𝜷>𝟏 จะถูก กระบบจากภาวะการณ์นั้นรุนแรงมากกว่าตลาด โดยทั่วไป มีความเสี่ยงสูงกว่าตลาด ดังนั้น การเลือกลงทุนควรเลือกลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีค้าเบต้า น้อยกว่า หรือเท่ากับหนึง (𝜷≤1)จะมีความเสี่ยงต่ำกว่า สรุป ความเสี่ยงในการถือหลักทรัพย์ ความเสี่ยง = ความเสี่ยงที่มีระบบ+ความเสี่ยงที่ไม่มีระบบ

𝑲 = อัตราผลตอบแทนที่คราดหวังของตลาด 𝝈 𝒎 𝟐 =ค่าความแปรปรวนของผลตอบแทนของตลาด 𝒆 𝒊 = ค่าความคราดเคลื่อนซึ่งเกิดจากความเสี่ยงที่ไม่มีระบบที่ขจัดให้หมดไปได้ 1.การคำนวนค่าความแปรปรวนระหว่างผลตอบแทนหลักทรัพย์ นั้นๆ กับผลตอบแทนของตลาด N = จำนวนปีของผลตอบแทนหลักทรัพย์ที่นำมาคำนวณ 2.การคำนวนค่าความชันของเส้นถดถอย ค่าการเปลี่ยนแปลงในผลตอบแทนหลักทรัพย์ ค่าความชัน=𝒙= ค่าการเปลี่ยนแปลงในผลตอบแทนหลักทรัพย์ ค่าความเปลี่ยนแปลงในผลตอบแทนของตลาด ในช่วงระดับเดียวกัน

รูปแบบของ CAMP 𝑘 𝑖 = 𝑅 𝐹 + 𝑏 𝑖 ( 𝑘 𝑚− 𝑅 𝐹 ) 1. ผลตอบแทนที่ไม่มีความเสี่ยง ( 𝑹 𝑭 ) 2. ผลตอบแทนส่วนเพิ่มเพื่อชดเชยความเสี่ยง { 𝒃 𝒊 ( 𝒌 𝒎− 𝑹 𝑭 )} เมื่อ 𝒊= หลักทรัพย์หนึ่ง 𝒌 𝒊 =ผลตอบแทนที่คาดหวังของหลักทรัพย์ 𝑹 𝑭 =ผลตอบแทนที่ไม่มีความเสี่ยง 𝒃 𝒊 =ค่าเบต้า (𝜷) คือ สัมประสิทธิ์ ชดเชยความเสี่ยง 𝒌 𝒎 =ผลตอบแทนของตลาด 𝑘 𝑖 = 𝑅 𝐹 + 𝑏 𝑖 ( 𝑘 𝑚− 𝑅 𝐹 )

การคำนวณผลตอบแทนของกลุ่มหลักทรัพย์ ต้องการลงทุนในหุ้น x และหุ้น y ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่ไม่มี ความเสียงเท่ากับ 9.5 % ตัวอย่างที่ 10-4 ผลตอบแทนของตลาดที่คาดหวัง ซื้อหุ้น x 6 ล้านบาท ซื้อหุ้น y 4 ล้านบาท ค่า เบต้า ของหุ้น x และ y มีค่า เท่ากับ 0.5 และ 1.0 ตามลำดับ ค่าความน่าจะเป็น ผลตอบแทนตลาด 0.1 10% 0.3 12% 0.4 14% 0.2 16%

จากสูตร CAMP: 𝒌 𝒑 = 𝑹 𝑭 + 𝒃 𝒑 ( 𝒌 𝒎 − 𝑹 𝑭 ) P = กลุ่มหลักทรัพย์ (portfolio) 𝑹 𝑭 = ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่ไม่มีความเสี่ยง = 9.5% ข้อมูลที่ไม่ทราบต้องคำนวนหา : ค้าเบต้าของกลุ่มหลักทรัพย์ ค่าผลตอบแทนที่คาดหวังของตลาดที่คาดหวังในอนาคต ดังนั้น ค่าเบต้าของกลุ่มหลักทรัพย์ = 0.7 ค่าเบต้าของกลุ่มหลักทรัพย์ 1 2 3 4 5=3*4 หุ้น การลงทุน (ล้านบาท) สัดส่วน ค่าเบต้า ค่าเบต้าถ่วงน้ำหนัก x 6 0.6 0.5 0.3 y 0.4 10 0.7

คำนวนผลตอบแทนของกลุ่มหลักทรัพย์ที่คาดหวังในอนาคต 1 2 3=∑(1)*(2) ความน่าจะเป็น ผลตอบแทนตลาด ผลตอบแทนตลาดที่น่าจะเป็น 0.1 10% 0.3 12% 3.6 0.4 14% 5.6 0.25 16% 3.2 13.4 ค่าผลตอบแทนตลาดในอนาคต =13.4% แทนค่าสูตร CAMP : 𝒌 𝒑 = 𝑹 𝑭 + 𝒃 𝒑 ( 𝒌 𝒎− 𝑹 𝑭 ) = 9.5+0.7(13.4-9.5) = 9.5+2.73 = 12.23 ดังนั้น ผลตอบแทนที่คาดหวังของการลงทุนในกลุ่มหลักทรัพย์ 2 ชนิด คือ หุ้น x และ หุ้น y เท่ากับ 12.23%