แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558 นพ.กฤช ลี่ทองอิน แผนงานสนับสนุนระบบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

P&P_สปสช. P&P_กองทุนท้องถิ่น

ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการP&Pในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 1. การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ 2. การตรวจและการบริบาลสุขภาพ พัฒนาการ และภาวะโภชนาการของ เด็กและเยาวชน ตามแนวทางของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และ/หรือแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนชาวไทยซึ่งจัดทำโดย แพทยสภา 3. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามแผนงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ของประเทศ รวมทั้งวัคซีนไข้หวัดใหญ่ 4. การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงต่อการเสียสุขภาพและศักยภาพ ที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับประชาชนทั่วไปและกลุ่ม เสี่ยง ตามแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนไทย ซึ่งจัดทำโดย แพทยสภา/ราชวิทยาลัย

ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการP&Pในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 5. การวางแผนครอบครัว ตามแนวทางของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข และหรือแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนไทยซึ่ง จัดทำโดยแพทยสภา 6. การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ กรณีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจาก แม่สู่ลูก 7. การเยี่ยมบ้านและการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน 8. การให้คำปรึกษาแนะนำ การสร้างเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ การให้ความรู้เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยแก่ ผู้รับบริการทั้งระดับบุคคลและครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพ 9. การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก

ความเป็นธรรมตาม Health Need ของประชาชน และ พื้นที่ดำเนินการ กรอบแนวคิดพื้นฐานของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในการกำหนดแนวทางการบริหารกองทุน ความเป็นธรรมตาม Health Need ของประชาชน และ พื้นที่ดำเนินการ ประสิทธิผลและคุณภาพของผลงานบริการสาธารณสุข การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมดำเนินงาน หลักประกันสุขภาพและการบริการสาธารณสุข ประสิทธิภาพการบริหารค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข

นโยบายและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง นโยบายให้ผู้มีสิทธิไปใช้บริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคที่หน่วยบริการทุกแห่งภายในจังหวัด เพื่อ เพิ่มการเข้าถึงบริการ นโยบายของกระทรวง สธ : ฝากครรภ์ทุกที่ ฟรีทุกสิทธิ (ไปใช้บริการได้ที่หน่วยบริการของกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง) นโยบายของกระทรวง สธ : เขตบริการสุขภาพ/ระบบ บริการสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) นโยบาย สปสช.กระจายอำนาจไปที่ สปสช.สาขาเขต

งบประมาณPP ปี 58 ที่ได้รับจัดสรร   ปี57 ปี58 1. PP-capitation 383.61 2. UC pop (คน) 48,852,000 48,606,000 3. รวมงบประมาณ 18,740,115,720 18,645,747,660 4. Thai pop (คน) 64,871,000 65,104,000 5. PP ต่อ Thai pop 288.88 286.40

(ร่าง) สรุปการจัดสรรเงินแยกตามรายการ ปี 2557 (บาท/ปชก.ทุกสิทธิ) ปี 2558 เพิ่ม+/ลด- วงเงินอัตรา 288.88 286.40 -2.48 งบระดับประทศ (NPP+PPD) 24.50 (23+1.5) 27 (26+1) +2.50 งบระดับพื้นที่ (PPA +PPB+PPD) 219.38 (21.38+192+6) 214.40 (8+201.40+5) - 4.98 งบกองทุน_อปท. 45 - 8

ผลกระทบของเงิน P&P ปี 58 ที่ได้รับลดลง กิจกรรมบริการที่อนุมัติให้มีการปรับเพิ่มเติมจากปี 2557 (ขาขึ้น) กิจกรรมที่สามารถดำเนินการ ในปี 2558 (ขาลง) 1. การป้องกันและควบคุมความ ผิดปกติแต่กำเนิด (Down Syndrome, Thalassemia และ TSH) 2. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคพื้นฐานที่จำเป็น - การให้วัคซีน MMR/MR เข็มที่ 2 ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง การให้วัคซีน dT ในกลุ่ม เสี่ยงและผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี 3. การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ ที่ไม่พึงประสงค์ - การคุมกำเนิดในกลุ่มอายุ <25 ปี 1. การป้องกันและควบคุมความผิดปกติแต่กำเนิด ( Thalassemia และ TSH) - การให้วัคซีน MMR/MR เข็มที่ 2 ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง - การให้วัคซีน dT ในกลุ่มเสี่ยงและผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี 3. การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ - ดำเนินการเฉพาะบริการวางแผนครอบครัวกึ่งถาวร ในวัยรุ่น กิจกรรมที่ยังไม่สามารถดำเนินการได้ ในปี 2558 (ขาลง) 1. การคัดกรอง Down Syndrome 2. การคุมกำเนิดในกลุ่มอายุ <25 ปี

ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี Goal ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของ ครัวเรือนลดลง outcome ลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อัตราป่วย อัตราตาย ที่เป็นภาระโรคของประเทศ บริการ P&P ตามสิทธิประโยชน์ หญิงตั้งครรภ์และ หลังคลอด บริการANC คุณภาพ การดูแลหลังคลอด วัคซีน Flu เด็ก 0-5 ปี - การป้องกันและควบคุม ความผิดปกติแต่กำเนิด วัคซีนพื้นฐาน/ไข้หวัดใหญ่ ตรวจติดตามการเจริญเติบโต/ พัฒนาการ ดูแลสุขภาพช่องปาก วัคซีน Flu วัยทำงาน(25-59ปี) ดูแลสุขภาพทั่วไป/ช่องปาก การรับยา/วัคซีน การอนามัยเจริญพันธ์/ สุขภาพทางเพศ การคัดกรองโรค/ปัจจัยเสี่ยง ผู้สูงอายุ(60ปี) ดูแลสุขภาพทั่วไป/ช่องปาก การรับยา/วัคซีน การคัดกรองโรค/ปัจจัยเสี่ยง วัคซีน Flu เด็ก 6-12ปี - วัคซีนพื้นฐาน/ไข้หวัดใหญ่ ตรวจติดตามการเจริญเติบโต ตรวจติดตามพัฒนาการ ดูแลสุขภาพช่องปาก เยาวชน-วัยรุ่น(13-24 ปี) ติดตามการเจริญเติบโต ดูแลสุขภาพช่องปาก การรับยา/วัคซีน การอนามัยเจริญพันธ์/ สุขภาพทางเพศ การคัดกรองโรค/ปัจจัยเสี่ยง output ปัจจัยที่มีผลต่อ output Input สถานประกอบการ โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก การดูแลตนเอง (Self care) บริการชุมชน (Community service) บริการสาธารณสุข (Health Promotion service) ส่งเสริม บริการเสริม/สนับสนุน บริการเสริม ระบบ บริการ บริการทางเลือก (NGO/Social enterprise) หน่วยบริการ (หน่วยบริการภาครัฐ/ เอกชน ) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

แนวคิดการบริหารบริการ P&P ปี 2558 การจัดซื้อ/จัดจ้าง - การเกิดโรคธาลัสซีเมียในเด็กแรกเกิดลดลง เด็กที่มีภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนส์ได้รับการดูแล ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นลดลง การบริหารระดับประเทศ การดำเนินงานโครงการ NPP ลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อัตราป่วย อัตราตาย ที่เป็นภาระโรคของประเทศ การบริหารระบบบริการ P&P การสร้างการมีส่วนร่วม_ท้องถิ่น ประชาชนแต่ละกลุ่มวัยได้รับบริการP&P ตามสิทธิประโยชน์ การบริหาร ระดับพื้นที่ การบริการservice base

1. งบค่าบริการเหมาจ่ายรายหัว 1.4 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ข้อเสนอผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ดังนี้ จัดกลุ่มใหม่โดยรวมรายการย่อย ให้มีการบริหารแบบ Global budget ระดับเขต ภายใต้กลไก อปสข. กรอบแนวทางหลักของการจ่ายเงิน ให้จ่ายเหมาจ่ายตามจำนวน ประชากร ผลงานบริการ/อัตราความครอบคลุม และคุณภาพ ผลงานบริการ รวมทั้งการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับ ท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามมาตรา 47

กรอบแนวทางการบริหารงบ P&P ปี 2558 (286.40 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.104 ล้านคน) งบที่ได้รับ 383.61 บาท/คน UC pop 48.606 คน (ก) NPP & Central Procurement (27 บาท/คน) (ข) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) (ค) P&P basic services (214.40 บาท/คน) บริหารแบบ global budget ระดับเขตสำหรับเขต 1-12 จัดสรรให้กองทุนท้องถิ่นที่มีความพร้อม หากมีเงินเหลือให้ ปรับเกลี่ยเป็น P&P basic services โดยความเห็นชอบจาก อปสข. สำหรับ สปสช.เขต 13 ซึ่งยังไม่มีกองทุนฯท้องถิ่น ให้ สปสช.จัดสรรเป็น P&P basic services 1. บริหารแบบ global budget ระดับเขต โดยคำนวณ GB ระดับเขตตามจำนวนประชากรโครงสร้างกลุ่มอายุ ผลงานบริการ/อัตราความครอบคลุมบริการ 2. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่าย ให้เป็นไปตามกรอบแนวทางและหลักเกณฑ์กลาง และเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในระดับพื้นที่ได้โดยต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. 3.กรอบแนวทางและหลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใช้จ่าย มีดังนี้ ไม่น้อยกว่า 20 บาทต่อคนจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ รวมกับเงินปฐมภูมิตามเกณฑ์ QOF โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ ไม่เกิน 8 บาทต่อคน สำหรับบริการที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการหรือแก้ปัญหาพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด ตามความจำเป็นทางสุขภาพ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน กรณีพื้นที่ สปสช.เขต 13 กทม. ให้สามารถปรับค่าใช้จ่ายได้มากกว่าที่กำหนด โดยความเห็นชอบของ อปสข. ไม่เกิน 5 บาทต่อคน สำหรับสนับสนุนและส่งเสริมระบบ การกำกับติดตาม/ประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน ส่วนที่เหลือ (ประมาณ 181.40 บาทต่อคน) จ่ายแบบเหมาจ่ายที่อาจปรับด้วยโครงสร้างอายุ/ผลงานบริการ และ/หรือจ่ายตามรายการบริการ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ วัคซีน สมุดสุขภาพ บริการปัญหาระดับ ประเทศ : TSH / Thalassemia / Child development / Teenage pregnancy ไม่เกิน 1 บาทต่อคน เป็นค่าสนับสนุนส่งเสริมระบบ การกำกับติดตาม/ประเมินผล ประมาณการณ์ปี 58 4,804,561,973 (73.80 บ/ปชกทุกสิทธิ์) ประมาณ 34% ของงบพท.ทั้งหมด(214.40) เพิ่มประมาณ 12.01 บ/ปชก งบปี 57 3,975,488,372 (61.79 บ/ปชก.ทุกสิทธิ์)  ประมาณ 32% ของงบ PPB (192บ)

สรุปสิ่งที่แตกต่างของปี 57 และ 58 ปี 2557 ปี 2558 NPP -เพิ่มกลุ่มเป้าหมายวัคซีนไข้หวัดใหญ่ อีก 2 กลุ่ม คือ 1) หญิงตั้งครรภ์>4เดือน 2) เด็ก 6 เดือน-2 ปี - งบสนับสนุนภายใต้งบ PP_สนับสนุน จำนวน 1.5 บาท/ปชก. -เพิ่มกลุ่มเป้าหมาย EPI อีก 2 กลุ่ม คือ 1) MMR/MR เข็มที่2 ในเด็ก 2ปีครึ่ง 2) dT ในกลุ่มอายุ 20-50 ปี จ่ายค่าตรวจคัดกรอง TSH แทนหน่วยบริการ สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ/M&E โดยใช้งบ 1 บ/ปชก. PPA - การแก้ปัญหาพื้นที่/นโยบายสำคัญระดับประเทศ ระบุทิศทางสนับสนุนองค์กรเอกชน/ภาคประชาชนดำเนินการหรือร่วมให้บริการในกองทุนสุขภาพชุมชน รวมทั้งงบในระดับเขต/จังหวัดด้วย - จ่ายค่าตรวจคัดกรอง TSH & Pap smear PP Basic service รวมงบที่มีการบริหารจัดการในระดับพื้นที่ไว้ด้วยกัน (PPA+PPB+PP_สนับสนุน) บริหารวงเงินระดับเขต โดยสปสช.จัดสรรงบเป็นGlobal Budget ระดับเขต ตามจำนวนประชากรโครงสร้างอายุ ผลงานบริการและหรืออัตราความครอบคลุมบริการ ซึ่งแนวทางการจ่ายแก่หน่วยบริการ/หน่วยงานในพื้นที่ให้เป็นอำนาจของ อปสข.ในการพิจารณา ภายใต้กรอบแนวทางกลางที่ คกก.หลักประกันฯกำหนด เขต/จังหวัดไม่ต้องกันงบสำหรับการตามจ่าย ค่าตรวจคัดกรอง TSH แทนหน่วยบริการ PPB -บริหารงบQPบูรณาการกับการบริหารงบQOFของระบบบริการปฐมภูมิ PP_กองทุน ท้องถิ่น - จัดสรรงบสำหรับการสร้างการมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกเป็นการเฉพาะ (แยกจากงบบริการ PP_ระดับพื้นที่) - สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร ที่ไม่มีท้องถิ่นร่วมดำเนินการให้ สปสช.ปรับงบไปรวมกับงบ PP Basic service PP_ทันตกรรม -อยู่ภายใต้งบ PPB แต่ยังระบุวงเงิน PP_ สนับสนุน -จัดสรรเป็นGlobal budget ระดับเขตตามจำนวนประชากร

งบ P&P ที่จ่ายตรงแก่หน่วยบริการ ปี 2555-2558 (244.76 บ/ปชก.) 2556 (232.36 บ/ปชก.) 2557 (288.88 บ/ปชก.) 2558 (286.40 บ/ปชก.) PP Express demand Capitation (55.40%) PP Basic services Capitation (60%) PP Basic service Capitation /Specific group PP Express demand Capitation (50%) > PP 244.76 > PPE+Dent = 150.96 = 61.51% > PP 232.36 > PPE+Dent = 141.56 = 60.92% > PP 288.88 > PPB = 192 = 66.46% > PP 286.40 > PPB = 201.40 = 70.32% Specific group (25%) Specific group (44.60%) Workload /Coverage Workload (40%) Workload (25%) Quality Performance QOF QOF คิดเป็น 61.53 % ของงบ PP ทั้งหมด คิดเป็น 60.92% ของงบ PP ทั้งหมด คิดเป็น 66.46 % ของงบ PP ทั้งหมด คิดเป็น 70.32 % ของงบ PP ทั้งหมด

การบริหารจัดการงบบริการสร้างเสริมสุขภาพ ก.สาธารณสุข Policy สปสช. ระดับประเทศ Global budget NPP เขตบริการสุขภาพ สปสช.เขต (อปสข.) (214.40 + 45 บ/ปชก) ระดับเขต/จังหวัด Service plan KPI สสจ. บริการทางเลือก(NGO/Social enterprise) ที่เหลือจาก อปท. 45 บ/ปชก. CUP ที่เหลือจาก อปท. ระดับอำเภอ(DHS) PCU PCU อปท. PCU ประชาชน

การบริหารงบบริการ P&P ปี 2558 Central Procurement (22.66 บ/ปชก.) 1.ค่าวัคซีน EPI (เพิ่ม MR เด็ก 2 ปีครึ่งและdT ในผู้ใหญ่ อายุ 20-50 ปี) 2.ค่าวัคซีน&การจัดการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ 3.ค่าจัดพิมพ์สมุดบันทึกสุขภาพ National priority Programs (4.34 บ/ปชก.) ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นนโยบายและ ความสำคัญระดับประเทศ การตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียทุกขั้นตอนในคู่เสี่ยง การตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนและการดูแล ต่อเนื่องในราย ที่ตรวจพบความผิดปกติ การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น การตรวจประเมินและดูแลพัฒนาการเด็ก โครงการแก้ไขปัญหาระดับประเทศ ที่ผ่านความเห็นชอบจาก คณะอนุกรรมการ PP สนับสนุนและส่งเสริมระบบเพื่อการเข้าถึงบริการ/คุณภาพบริการ

(ก) งบบริการ P&P ระดับประเทศ ปี2558 งบประมาณ จำนวนงปม. (ล้านบาท) บาทต่อประชากรทุกสิทธิ์ งบ ซื้อวัคซีน EPI (ตามแผนปี 57) + Flu(รวมการจัดการ) 1,303 20.01 2. งบพิมพ์สมุดสุขภาพแม่&เด็ก 30 0.46 3. จากกิจกรรมและเงื่อนไขบริการที่ปรับปรุงปี 2558 424.80 6.53 3.1 การป้องกันและควบคุมความผิดปกติแต่กำเนิด - Thalassemia 80 1.23 - TSH 120 1.84 - Down syndrome (ยังไม่ดำเนินการปี 58) 3.2 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคพื้นฐานที่จำเป็น - ให้วัคซีน MMR/MR เข็มที่ 2ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง 121 1.86 - การให้วัคซีน dT ในกลุ่มเสี่ยงและผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี (เฉพาะกลุ่มอายุ 20,30,40,50 ปี) 21.4 0.33 3.3 การดูพัฒนาการเด็ก (เน้นกลุ่ม 9,18,30,42 เดือน) 15 0.23 3.3 การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ - เพิ่มการคุมกำเนิด ในกลุ่มอายุ <25 ปี (ปี 58 ทำเฉพาะวัยรุ่น <20 ปีกรณีใส่ห่วงและยาฝังคุมกำเนิด) 2.4 0.04 4. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฯ 2558 65 1.0 รวมงบบริการ P&P ระดับประเทศ 1,757.80 27.00 ยาฝัง 2,500 X500 = 1,250,000 บ. ห่วง 800 x 2000 = 1,600,000 บ. เด็กมีปัญหาพัฒนาการสมวัย 30% ไม่สมวัย 70% 1) เป็นชนิดไม่รุนแรง70% ซึ่งพ่อแม่แก้ไขเองได้ถ้าตรวจพบและรู้วิธีกระตุ้น 2) ต้องการความช่วยเหลือจากระบบ สธ. 30% หมายเหตุ กรณีให้ dT ในอายุ 20-50 ปี (ตามข้อเสนอของกรมควบคุมโรค) ต้องใช้งบ 130 ลบ. หรือ 1.99 บ/ปชก.ทุกสิทธิ์)

(ก) งบบริการ P&P ระดับประเทศปี2558 งบประมาณ จำนวนงปม. (ล้านบาท) บาทต่อประชากรทุกสิทธิ์ งบ ซื้อวัคซีน EPI (ตามแผนปี 57) + Flu(รวมการจัดการ) + MMR/MR เข็มที่ 2ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง + dT ในกลุ่มเสี่ยงและผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี 1,445.40 22.20 2. งบพิมพ์สมุดสุขภาพ 30.00 0.46 3. โครงการ NPP ปี 2558 222.40 3.34 4. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฯ 2558 65.00 1.00 รวมงบบริการ P&P ระดับประเทศ 1,757.80 27.00 ยาฝัง 2,500 X500 = 1,250,000 บ. ห่วง 800 x 2000 = 1,600,000 บ. เด็กมีปัญหาพัฒนาการสมวัย 30% ไม่สมวัย 70% 1) เป็นชนิดไม่รุนแรง70% ซึ่งพ่อแม่แก้ไขเองได้ถ้าตรวจพบและรู้วิธีกระตุ้น 2) ต้องการความช่วยเหลือจากระบบ สธ. 30%

หลักเกณฑ์การพิจารณา NPP 1. สามารถตอบสนองต่อปัญหาหรือความต้องการบริการ P&P ใน ภาพรวมระดับประเทศโดยมีข้อมูลเชิงประจักษ์ (Evidence base) 2. มีแนวทางการดำเนินงานชัดเจนได้แก่ มีกลุ่มประชากรเป้าหมาย มี ยุทธศาสตร์และมาตรการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน (ไม่ใช่ Model Development) หรือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ต้องการระบบบริหาร จัดการและระบบบริการเพิ่มเติมใหม่ เพราะระบบปกติในพื้นที่มี ข้อจำกัด 3. เป็นแผนงานโครงการที่มีระยะเวลาดำเนินงานต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 3 ปี และมีระยะเปลี่ยนผ่านเพื่อเข้าสู่ภารกิจปกติในระดับ พื้นที่ จากความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ (17 มค. 54)

แผนการดำเนินงาน NPP ปี2558 ผู้ดำเนินงานโครงการ 1. การป้องกันและควบคุมความผิดปกติแต่กำเนิด - Thalassemia - TSH - Down syndrome (นำร่องการดำเนินงาน) กรมอนามัย/ กรมวิทยาศาสตร์ฯ/กรมการแพทย์ 2. การสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (เน้นกลุ่ม 9,18,30,42 เดือน) กรมสุขภาพจิต  3.การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ (ปี 58 เน้นวัยรุ่น <20 ปี กรณีใส่ห่วงและยาฝังคุมกำเนิด) องค์กรเอกชน

แผนการดำเนินงาน NPP ปี2558 เพิ่มเติม ผู้ดำเนินงานโครงการ 4. การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง - การคัดกรองและดูแลโรคมะเร็งปากมดลูก กรมการแพทย์/ กรมอนามัย 5. การสนับสนุนส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ - การคัดกรองภาวะตาบอดจากต้อกระจก/ข้อเข่าเสื่อม/ ความต้องการฟันเทียม

แผนงานหลักสำหรับการใช้งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการP&P_ระดับประเทศ ปี2558 แผนงาน/โครงการ กิจกรรม เป้าหมาย หน่วยงาน 1.การป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ สนับสนุนกลไกบริหารจัดการและสนับสนุนระดับประเทศ/เขต พัฒนาระบบบริการและเครือข่าย พัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการ พัฒนาแนวเวชปฏิบัติ ติดตามและประเมิน มีศูนย์ประสานการบริหารจัดการ มีศูนย์ประสานและสนับสนุนระดับเขต มีผังระบบเครือข่ายบริการแต่ละเขต มีจำนวนผู้ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีแนวเวชปฏิบัติที่ปรับปรุง กรมอนามัย / กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์/หน่วยงานวิชาการ 2.การป้องกันและควบคุมภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด สนับสนุนระบบติดตามทารกที่มีผลการตรวจยืนยันผิดปกติให้เข้าถึงบริการภายใน 1 เดือน สนับสนุนระบบติดตามดูแลเด็กอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี มีหน่วยงานกลางรับผิดชอบดำเนินงาน สถาบันเด็กฯ / กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3.การตรวจประเมินและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก พัฒนาระบบส่งต่อ มีผังการส่งต่อ กรมอนามัย . 4.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการ มีบริการป้องกันและแก้ไข 5.การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและการดูแลต่อเนื่อง การพัฒนาระบบการติดตาม/ดูแลให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลต่อเนื่อง การติดตามและประเมิน มีการพัฒนาระบบทะเบียนและข้อมูล/การส่งต่อ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 6. การเฝ้าระวังและประเมินผลการเข้าถึงบริการ P&P การสำรวจในระดับประชากร การสำรวจระดับหน่วยบริการ การประเมินผลเฉพาะเรื่อง/ประเด็น รายงานสถานการณ์การเข้าถึงบริการและคุณภาพบริการ หน่วยงานวิชาการ/กรมอนามัย

ส่วนที่ (ข) P&P กองทุนท้องถิ่น 45 บาท/คน เกณฑ์ การจ่าย บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ดำเนินการในชุมชน ใน รูปแบบความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามประกาศของ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยจัดสรรให้กองทุน หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ที่มีความพร้อมในการ เข้าร่วมดำเนินงาน และบริหารจัดการในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตาม เจตนารมณ์ แห่ง พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 18(8) และ (9) และมาตรา 47 การสนับสนุน/ -สปสช.จัดสรรวงเงินตามจำนวนท้องถิ่นที่มีอยู่ในพื้นที่ให้ สปสช. เขตดำเนินการ สาขาเขตเบิกจ่ายงบ 45 บาท/คน โอนให้กองทุนฯ และท้องถิ่นสมทบตามอัตราที่กำหนด กรณีที่มีงบคงเหลือให้พิจารณาดำเนินการตามการบริหารงบส่วน (ค) P&P Basic service สำหรับกรณีพื้นที่ สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร ซึ่งยังไม่มีกองทุน หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น ให้ สปสช.จัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายส่วน (ค) P&P Basic service

ส่วนที่ (ค) P&P บริการพื้นฐาน 214.40 บาท/คน (P&P basic services) กรอบ กิจกรรม การบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ (รวมทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน) ในทุกกลุ่มวัย ทั้งเชิงรับและเชิงรุก คุณภาพผลงานบริการ การบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อการแก้ปัญหาพื้นที่ (รวมถึงพื้นที่พิเศษ/กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ) อาทิ –การตรวจคัดกรองตาต้อกระจก -การจัดบริการเชิงรุกเพื่อให้ผู้ประกันตน/แรงงานนอกระบบ/คนชายขอบเข้าถึงบริการ -การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ -การจัดบริการเชิงรุกหรือบริการเสริมเข้าไปในพื้นที่/โรงเรียนหรือสถานประกอบการ -การสนับสนุนภาคประชาชน/องค์กรเอกชนเพื่อจัดบริการสำหรับ คนชายขอบหรือจัดบริการเสริมเพิ่มเติมจากปกติ เป็นต้น ทั้งนี้ต้องเป็นค่าบริการเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการ สนับสนุนและส่งเสริมระบบ เพื่อลดปัญหา(gap) การเข้าถึงบริการ/คุณภาพบริการ รวมทั้งการกำกับติดตามและประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ

หลักการจัดสรรงบ P&P basic service ปี 2558 (3) P&P_flat rate (128.01บ./คน) หน่วยบริการ/ สถานบริการ/ หน่วยงานต่างๆ/ภาคประชาชน P&P basic service ( 214.40 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.104 ล้านคน) (1) P&P workload (21.47 บ./คน) (2) P&P age group (64.92 บ./คน) ระดับประเทศสปสช. Global budget_ระดับเขต (204.43 – 226.84 บ/คน) ระดับเขต สปสช.เขต ภายใต้ความเห็นชอบของ อปสข. (1) P&P workload (2) P&P age group (3) P&P_flat rate QoF (ไม่น้อยกว่า 20 บ/คน) PPA (ไม่เกิน 8 บ/คน) PPD (ไม่เกิน 5 บ/คน) PP_หน่วยบริการ workload/age group/flat rate (งบที่เหลือ) หักเงินเดือน ระบบบริการ หน่วยบริการ/ สถานบริการ/ หน่วยงานต่างๆ/ภาคเอกชน/ภาคประชาชน

ส่วนที่ (2) P&P บริการพื้นฐาน 214.40 บาท/คน (P&P basic services) แนวทางการจัดสรร บริหารวงเงินระดับเขต โดยสปสช.จัดสรรงบเป็นGlobal Budget ระดับเขตตาม จำนวนประชากร โครงสร้างอายุ ผลงานบริการและหรืออัตราความครอบคลุมบริการ ทั้งนี้แนวทางการจ่ายแก่หน่วยบริการ/หน่วยงานในพื้นที่ให้เป็นอำนาจของ อปสข.ใน การพิจารณา ภายใต้กรอบแนวทางกลางที่ คกก.หลักประกันฯกำหนด การบริหารจัดการ/การสนับสนุน/การจ่าย (3.1) ไม่น้อยกว่า 20 บาท/คน งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (รวมกับงบปฐมภูมิ) เพื่อจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ(QOF) (3.2) ไม่เกิน 8 บาท/คน สำหรับบริการที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการหรือแก้ปัญหาพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด ความจำเป็นด้านสุขภาพจัดสรรแก่หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/ ภาคประชาชน (3.3) ไม่เกิน 5 บาท/คน สำหรับสนับสนุนและส่งเสริมระบบ เพื่อลดปัญหา(gap) การเข้าถึงบริการ/คุณภาพ บริการ รวมทั้งการกำกับติดตามและประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ โดย จัดสรรแก่หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน ทั้งนี้ ให้กำหนดเป้าหมายที่ตอบสนอง การเข้าถึงบริการ/คุณภาพบริการ (3.4) ส่วนที่เหลือ (ประมาณ181.40 บาท/คน) จ่าย แบบเหมาจ่าย จัดสรรในลักษณะเหมาจ่ายตามหัวประชากรและปรับด้วยโครงสร้างอายุ ผลงาน บริการ และหรือจ่ายตามรายการบริการ โดยจัดสรรแก่หน่วยบริการ/สถานบริการที่ร่วม ให้บริการ ทั้งนี้ภายใต้ตัวชี้วัด/เป้าหมายที่กำหนดร่วมกันในพื้นที่ งบส่วนนี้สามารถปรับเกลี่ยระหว่างหน่วยบริการภายในจังหวัด ภายใต้การหารือ ร่วมกันในระดับจังหวัด โดยสสจ./สปสข.เขต และเสนอต่อ อปสข.เพื่อพิจารณา ทั้งนี้งบส่วนนี้จะหักเงินเดือนก่อนจัดสรร

กรอบระยะเวลาและขั้นตอนการดำเนินงาน

แนวทางการใช้งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ P&P_ระดับเขต ปี2558 เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ การกำกับติดตามและประเมินผล การมีข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับประสิทธิภาพประสิทธิผล การบริการ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ การแพทย์แผนไทยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระบบสุขภาพชุมชนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงหรือคุณภาพบริการ การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนหรือ หน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง

แนวทางและเป้าหมายงบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ P&P_ระดับเขต ปี2558 แผนงาน/โครงการ กิจกรรม 1.การพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น การพัฒนาเครือข่ายป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย 3.การส่งเสริมกลไกสนับสนุนและติดตามสุขภาพช่องปาก การสนับสนุนกลไกระดับเขต การพัฒนาศักยภาพ 4.การพัฒนาระบบ กลไกเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตามกลุ่มวัย ส่งเสริม/สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบ กลไกเพื่อการเข้าถึงบริการ 5. การสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริหารจัดการและกำกับติดตามการทำงานของหน่วยบริการ การสนับสนุน การกำกับติดตาม 6.การสนับสนุนการพัฒนา บริการเพื่อการเข้าบริการ ตามบริบทของพื้นที่. 7.... มีระบบ/กลไก เพื่อ เพิ่มการเข้าถึงบริการ ของประชาชน มีรูปแบบการจัดบริการ ที่เอื้อ/ส่งเสริม การ เข้าถึงบริการของ ประชาชนในพื้นที่ พิเศษ (เขตเมือง/ ทุรกันดาร) หรือ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น กลุ่มผู้ใช้แรงงาน/ เกษตรกร ฯลฯ มีบริการทางเลือก เพื่อเพิ่มการเข้าถึง บริการ เป้าหมาย อย่างน้อย 3 เรื่อง

กลุ่มมารดาและทารก 4 ตัว กลุ่มปฐมวัย 6 ตัว กลุ่มวัยเรียน 4 ตัว การกำกับติดตามผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดร่วม กสธ. และ สปสช.ชี้วัด 19 ตัว กลุ่มมารดาและทารก 4 ตัว กลุ่มปฐมวัย 6 ตัว กลุ่มวัยเรียน 4 ตัว กลุ่มวัยทำงาน 2 ตัว กลุ่มสูงอายุ 2 ตัว กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 1 ตัว มติคณะอนุกรรมการ P&P ครั้งที่ 11/56 เมื่อวันที่ 25 ธค.56

ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน กลุ่มมารดา 1. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า หรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3. ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 4. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อย กว่าร้อยละ 90

ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน กลุ่ม 0-5 ปี 5 เด็กที่มีผลตรวจ TSH ผิดปกติได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยันไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 6. เด็ก 18 เดือน ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (อาจบูรณาการตรวจ ช่องปาก) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 7. เด็ก 18 เดือนที่ได้รับการตรวจพัฒนาการค้นพบว่าพัฒนาการล่าช้าไม่ ต่ำกว่าร้อยละ10 8. เด็กอายุ ครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิดตามเกณฑ์(ยกเว้น MMR) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 9. เด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีน MMR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 10. ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50

ตัวชี้วัดที่ กสธ. และสปสช ร่วมติดตามและประเมิน กลุ่มเด็กวัยเรียน 11. เด็ก ป. 1 ได้รับการตรวจช่อง ปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 12. เด็ก ป. 1 ได้รับการเคลือบหลุม ร่องฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 13. จำนวนเด็ก ป. 1 ได้รับบริการ comprehensive care ไม่น้อย กว่าร้อยละ 17 ของจำนวนเด็ก ป. 1 ทั้งหมดในพื้นที่ 14. เด็ก 6-12 ปี อ้วนไม่เกินร้อยละ 15 กลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน 15. ประชาชนอายุ 35-59 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน / ความดันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 16. สตรี 30-60 ปี ได้รับการ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อย่างน้อย 1 ครั้งภายใน 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ตัวชี้วัดที่ กสธ. และสปสช ร่วมติดตามและประเมิน กลุ่มผู้สูงอายุ 17. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง เบาหวาน&ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 18. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ในภาวะผิดปกติ 3 กลุ่ม ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 30 กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 19. การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ให้กับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรค หญิง มีครรภ์ อายุครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน- 2 ปี) ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 25 ตัวชี้วัดระดับผลกระทบ ผลลัพธ์ และกระบวนการ ยึดตามที่ กสธ กำหนด เฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับ สปสช.

แนวทางการติดตามและประเมินผลบริการ P&P ปี 2558 ระดับประเทศ :- เสนออนุกรรมการ P&P การเบิกจ่ายงบ – e-budget รายงานผลตามตัวชี้วัดที่กำหนด จากแหล่งต่อไปนี้: ชุดข้อมูลบริการผู้ป่วยนอกและP&Pรายบุคคล และชุดข้อมูลบริการผู้ป่วยใน การสำรวจ & วิจัย การทบทวนผลการศึกษา /สำรวจ/วิจัย การตรวจเยี่ยมและนิเทศงาน ฐานทะเบียนราษฎร์ การประเมินผล การประเมินผลภายนอก (โดยหน่วยงานวิชาการ) การสำรวจระดับ Population-based > accessibilty การสำรวจระดับ Provider-based > quality of service การประเมินผลเฉพาะเรื่อง/ประเด็น

แนวทางการติดตามและประเมินผลบริการ P&P ปี 2558 ระดับพื้นที่ :- เสนอ อปสข. - การเบิกจ่ายงบ :– จากโปรแกรม e-budget - รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด/เป้าหมายที่กำหนดร่วมกันในพื้นที่ จาก แหล่งข้อมูลที่กำหนดร่วมกันในพื้นที่ เช่น ชุดข้อมูลมาตรฐาน 43 แฟ้มจากหน่วย บริการ/สสจ. รายงานข้อมูลผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน/แผนปฏิบัติการ เป็นต้น - หน่วยงาน /องค์กร/ ภาคประชาชน ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณต้องรายงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์การดำเนินงานตามที่ตกลง และส่งรายงานผลการดำเนินงานเมื่อ สิ้นสุดแผนงานหรือปีงบประมาณ รวมทั้งให้มีการรายงานความก้าวหน้าและสรุปผล การดำเนินงานต่อที่ประชุม อปสข.ตามระยะเวลาที่กำหนด - ลงตรวจเยี่ยมและสุ่มตรวจการบริการในพื้นที่ การประเมินผล - การสำรวจในระดับประชากรตามที่ได้รับมอบหมายหรือดำเนินการเองโดยไม่ซ้ำซ้อนกับ ระดับประเทศ - การสำรวจเฉพาะเรื่องตามสภาพปัญหาของพื้นที่

สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการออกแบบการจัดสรร_ระดับพื้นที่ นโยบาย - การเข้ารับได้ที่หน่วยบริการภายในจังหวัด/เขต ที่อยู่อาศัยหรือ ลงทะเบียนไว้ - ”ฝากท้องทุกที่ ฟรีทุกสิทธิ” ที่กำหนดให้สามารถเข้ารับบริการ กับสถานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการ/สถานบริการ ได้รับความเป็นธรรมจากการจัดสรร ค่าใช้จ่ายที่สอดคล้องกับการให้บริการ การกำหนดเป้าหมายผลงานบริการของหน่วยบริการ/สถานบริการ ภายใต้งบประมาณที่ได้รับจัดสรร การกำหนดแนวทางการกำกับติดตาม และการดำเนินงานหาก ผลงานบริการไม่สอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนด การจัดสรรงบ Non uc งบที่เหลือจากการเข้าร่วมของท้องถิ่น (งบกองทุนท้องถิ่น) งบกองทุนท้องถิ่น ในส่วนของ เขต 13 กรุงเทพ (ปี58 = 5.45 บ/คน)

สปสช.จึงมีการขึ้นทะเบียน “หน่วยบริการ” ประเภทต่างๆ แต่หากมีเหตุสมควร ก็จ่ายเงินกองทุนฯให้ “สถานบริการ” ได้