กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
การชี้แจงการ ประชุมกลุ่ม โดย นางศิริลักษณ์ สิมะพรชัย หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อม.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
1. 2 งบประมาณ ทั้งสิ้น 33, ลบ. งบประจำ ลบ. (0.37%) งบ บุคลากร ลบ. (0.25%) งบ ดำเนินงา น ลบ. (0.12%) งบลงทุน 33,
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
และความปลอดภัยในโรงพยาบาล
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
หมวดที่ 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน หมวด P 13 ข้อ
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การดำเนินงานต่อไป.
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
หน่วยงานที่มีการจัดทำแผนและดำเนินการตามแผน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผลการดำเนินงานโครงการประเมินอาคารและสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถานบริการสุขภาพ กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ความหมาย มาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อม หมายถึง คุณภาพทางกายภาพของสถานบริการสุขภาพ ประกอบด้วย ตำแหน่งที่ตั้งของอาคารมีความเชื่อมโยงระหว่างอาคาร เป็นระเบียบ เหมาะสมต่อการใช้งาน รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยและส่งเสริมต่อการใช้อาคารสถานที่ เป็นไปตามข้อกำหนด/กฎหมายอาคารอื่นที่เกี่ยวข้องหรือมาตรฐานวิชาชีพที่กำหนด ตลอดจนความปลอดภัยของการใช้อาคารสถานที่และการสัญจรระหว่างอาคาร การดูแล บำรุงรักษาอาคารและสภาพแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน

ความหมาย (ต่อ) โดยพิจารณาจากส่วนประกอบ ดังนี้ โดยพิจารณาจากส่วนประกอบ ดังนี้ ส่วนที่ 1 โครงสร้าง ตำแหน่งที่ตั้งทางกายภาพและสภาพแวดล้อม ส่วนที่ 2 การจัดการด้านความปลอดภัย ส่วนที่ 3 การบำรุงรักษาอาคารและสภาพแวดล้อม

ความหมาย (ต่อ) แบ่งเป็นระดับการประเมินเป็น 3 ระดับคือ แบ่งเป็นระดับการประเมินเป็น 3 ระดับคือ มาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อมที่ผ่านเกณฑ์ในระดับที่ 1 จะต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อมที่ผ่านเกณฑ์ในระดับที่ 2 จะต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 มาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อมที่ผ่านเกณฑ์ในระดับที่ 3 จะต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

กลุ่มเป้าหมาย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 สถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รับการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพมาตรฐานตามมาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อม จำนวน 100 แห่ง โดยจำแนกเป็น โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 95 แห่ง โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช จำนวน 5 แห่ง

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด : จำนวนของสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รับการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อม ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานบริการสุขภาพภาครัฐผ่านเกณฑ์คุณภาพด้านอาคารและสภาพแวดล้อม

ค่าเป้าหมายปีงบประมาณ 2555 สถานบริการสุขภาพได้รับการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อม จำนวน 100 แห่ง สถานบริการสุขภาพภาครัฐที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อม จะประเมินผ่านเกณฑ์ในระดับที่ 1 จำนวน 60 แห่ง

ผลการดำเนินงาน สถานบริการสุขภาพได้รับการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อม จำนวน 100 แห่ง สถานบริการสุขภาพภาครัฐที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านอาคารและสภาพแวดล้อม จำนวน 60 แห่ง

ปัญหา/อุปสรรค อาคารมีอายุการใช้งานเป็นเวลานาน ข้อกำหนดหรือเกณฑ์เริ่มใช้มาไม่นานทำให้ประเมินแล้วไม่ผ่าน การต่อเติมอาคารหรือก่อสร้างอาคารเพิ่มมีผลกับเกณฑ์การประเมิน ข้อจำกัดของการปรับปรุงอาคารหรือสภาพแวดล้อมเนื่องมาจากมีงบประมาณไม่เพียงพอ

Q/A สวัสดีครับ