ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค
จำนวนบัตร รง. 506 แยกตามระดับสถานบริการที่ส่งบัตร รง. 506 การส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล จำนวนบัตร รง. 506 แยกตามระดับสถานบริการที่ส่งบัตร รง. 506 เดือน พฤศจิกายน 2557 ทั้งหมด 592 บัตร
ระบาดวิทยา การส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 สัปดาห์ที่ 44-47 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล จำนวนครั้งการส่งบัตร รง.506 เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของศูนย์ระบาดอำเภอ ครั้ง/สัปดาห์ สัปดาห์ที่ 44-47 ศูนย์ระบาด
ระบาดวิทยา การส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล จำนวนครั้งการส่งบัตร รง.506 เฉลี่ยต่อเดือนของศูนย์ระบาดอำเภอ ครั้ง/เดือน พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ระบาด
ระบาดวิทยา ร้อยละของสถานบริการที่ส่งบัตรรายงาน 506 การส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ร้อยละของสถานบริการที่ส่งบัตรรายงาน 506 เดือน พฤศจิกายน 2557 ร้อยละ สถานบริการ
ระบาดวิทยา ความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557
ระบาดวิทยา ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 หน่วยงานโรงพยาบาล พฤศจิกายน 2557 ร้อยละ โรงพยาบาล
ระบาดวิทยา ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ร้อยละของความทันเวลาการส่งบัตรรายงาน 506 หน่วยงานสถานีอนามัยในสังกัด สสอ. ประจำเดือน พฤศจิกายน 2557 ร้อยละ สสอ.
ระบาดวิทยา จำนวนป่วย 10 อันดับโรค สถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล จำนวนป่วย 10 อันดับโรค จำนวน เดือน พฤศจิกายน 2557 (1 พ.ย. – 30 พ.ย.57) โรค
ระบาดวิทยา อัตราป่วยต่อแสนประชากร ของ 10 อันดับโรค สถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ปี 2557 ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล อัตราป่วยต่อแสนประชากร ของ 10 อันดับโรค จังหวัดสตูล (1 มกราคม – 30 พฤศจิกายน ปี 2557) อัตราป่วย โรค
ระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.สตูล สถานการณ์ไข้เลือดออก 30 พฤศจิกายน 2557 ระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.สตูล
อัตราป่วยต่อแสน ปี 2530 - 2557 170 ราย เสียชีวิต 1 ราย อัตรา/แสน ปี 170 ราย เสียชีวิต 1 ราย * ข้อมูล (1 มค.30 – 31 พ.ย.57)
ผู้ป่วยรายเดือน ปี 2557 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปีและข้อมูลปี 2556 ผู้ป่วยรายเดือน ปี 2557 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปีและข้อมูลปี 2556 * ข้อมูล (1 มค.57 – 30 พ.ย.57)
เฉลี่ยต่อสัปดาห์(1-47) = 3.6 ราย จำนวนผู้ป่วย จำแนกรายสัปดาห์ ปี 2557 เปรียบเทียบ ค่ามัธยฐาน และ ข้อมูลปี 2556 เฉลี่ยต่อสัปดาห์(1-47) = 3.6 ราย * ข้อมูล (1 มค. – 30 พ.ย.57)
อัตราป่วยจำแนกรายอำเภอ ปี 2557 *เสียชีวิต 1 ราย *23.30 ( 4 ราย) 12.89( 3 ราย) ทุ่งหว้า มะนัง *18.01 ( 6 ราย) ละงู ควนกาหลง 110.63 (77 ราย) ท่าแพ ควนโดน 19.85( 5 ราย) *46.73 ( 13 ราย) เมือง 0 -25 / แสนประชากร 25.01 - 50 / แสนประชากร 50.01 – 75 / แสนประชากร 75.01–100/ แสนประชากร >100.01 / แสนประชากร *55.79 ( 62 ราย) ข้อมูล (1 มค. – 30 พ.ย.57)
อัตราป่วยจำแนกรายอำเภอ ปี 2557 *เสียชีวิต 1 ราย ทุ่งหว้า มะนัง Pt เพศชาย อายุ 1 ปี 8 เดือน บ้านเลขที่ 47 ม.3 ต.นิคมพัฒนา อำเภอมะนัง เริ่มป่วย 21 พ.ย.57 ด้วยอาการ ไข้ หนาวสั่น ท้องอืด -22 พ.ย.57 รักษาคลินิกเอกชน อ.เมือง -23 พ.ย.57 รักษาคลินิกเอกชน อ.มะนัง -23 พ.ย.57 เวลา 18.30 น. เข้ารับการรักษา รพ.มะนัง ด้วยอาการ 2 วันก่อนมา รพ. ไข้ ไอ ท้องอืด ถ่ายเหลว 1 ครั้ง(ถ่ายเหลวสีเขียวไม่ได้บอกแพทย์) อาเจียน 1 ครั้ง -25 พ.ย.57 มีอาการหายใจลำบาก มารดาจึงพามา รพ.มะนัง อีกครั้ง เวลา 12.45 น. T = 37.1 R = 20 P= ไม่มี ส่ง X-ray ปอด =น้ำท่วมปอด ตรวจร่างกายอีกครั้ง T = 38 R = 30 P= 150 ตัดสินใจส่งต่อ(16.00 น.) ละงู ควนกาหลง ท่าแพ ควนโดน เมือง รพ.สงขลา ตอบรับ เวลา 18.00 น. เสียชีวิต 26 พ.ย.57 เวลา 02.44 น. รพ.สตูล รพ.หาดใหญ่ รพ.เอกชน
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง
โรคไข้ปวดข้อยุงลาย(ชิคุนกุนยา) เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 ได้ตรวจสอบการระบาดประจำสัปดาห์ด้วยโปรแกรม R 506 พบว่ามีการรายงานโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส จำนวน 111 ราย พบสูงสุดที่อำเภอตากใบ จำนวน 97 ราย ผู้ป่วยทั้งหมดเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตากใบ จากรายงานผู้ป่วยรายแรกมีวันเริ่มป่วยเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2557 ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
มาตรการรณรงค์ป้องกันควบคุม โรคไข้ปวดข้อยุงลาย(ปี 2552) 3 วัน 3 สัปดาห์ 3 เดือน ใต้ร่วมใจขจัดภัยไข้ปวดข้อยุงลาย (ยุทธการ 90 วัน ใต้ร่วมใจขจัดภัยไข้ปวดข้อยุงลาย)
โดยกลวิธี 3 รบ รบรุก เปลี่ยนการตั้งรับเป็นการรุกค้นหาผู้ป่วย โดยให้ อสม. เอ็กเรย์เต็มพื้นที่ รายงานผู้ป่วย แจกยาทากันยุงป้องกัน ภายใน 3 วัน รบเร็ว นำข้อมูลจาก อสม. มาวางแผนรบทำลายพาหะนำโรค ระดมทรัพยากรในพื้นที่ และจัดเตรียมความพร้อมโดยเร็ว เร่งกำจัดลูกน้ำยุงลาย แหล่งเพาะพันธุ์ และยุงตัวแก่ 3 สัปดาห์ติดต่อกัน รบแรง ระดมทรัพยากรและมาตรการสำคัญทั้งหมด ทะกบ้าน ทุก อสม. ทุกหน่วยบริการ ควบคุมอย่างเต็มที่ ในการรบทุกครั้ง และต่อเนื่องในพื้นที่จนครบ 3 เดือน
สถานการณ์ไวรัสอีโบลา
โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย MERS-CoV ไวรัสอีโบลา