ระบบการควบคุมภายใน เป็นเครื่องมือพัฒนาองค์การ สู่ความเป็นเลิศ Somkiat Chidthaisong,Ph.D 1
ระบบควบคุมภายใน : อะไร? ทำไม? อย่างไร? ประเด็นการนำเสนอ ระบบควบคุมภายใน : อะไร? ทำไม? อย่างไร? 1 องค์กรแห่งความเป็นเลิศ : อะไร? ทำไม? อย่างไร? 2 แนวทางการใช้ระบบควบคุมภายในเพื่อสร้างองค์กรแห่งความเป็นเลิศ 3 4 2
ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 1. ระบบควบคุมภายใน : อะไร? ทำไม? อย่างไร? ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 3
ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา การควบคุมภายใน ? ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 4
ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา การควบคุมภายใน ? การควบคุมภายใน : ป้องกันความเสียหาย ลดความสูญเสีย ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 5
การติดตามประเมินผล 6
7
ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 7-S Framework of McKinsey องค์กรแห่งความเป็นเลิศ (High Performance Organization) : อะไร? ทำไม? อย่างไร? ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 8
ที่มา และแนวคิด HPO High Performance Organization : HPO ระบบเศรษฐกิจแบบไร้พรมแดน (A Boundaryless Economy) องค์การในระบบเปิด (Open System) Organizational Development : OD การปรับปรุงผลผลิต และทำให้เกิดความประหยัดค่าใช้จ่าย ความสามารถในการปรับตัว ให้ความสำคัญต่อการเติบโตและพัฒนาของบุคลากร Learning Organization : LO 9
High Performance Organization 10 ที่มา : ภาคภูมิ ฤกขเมธ,2555
Value Chain : IPO (Input-Process-Output) Inputs Process Various inputs blended together to achieve a specified output Outputs Material People Equipment Methods/Procedures Environment Service Product Task completed
ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 3. การใช้ระบบควบคุมภายในเพื่อสร้างองค์กรแห่งความเป็นเลิศ ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 12
7-S Framework of McKinsey ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการ(High Performance Organi(High Performance Organization : HPO)z)ปฏิบัติราช 13
ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 7-S Framework of McKinsey ผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สพฐ. ที่ผ่านมา 14
ที่มา:กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ,2557 15
9 Steps Improvement 1 9 2 8 3 7 4 6 5 หาความต้องการ ผู้มีส่วนได้เสีย ปรับปรุงงาน อย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้เกิด การปรับปรุง 9 2 วัดและประเมินผล การดำเนินงาน ประเมินสภาพ องค์กรในปัจจุบัน 8 3 ปฏิบัติตามแผน ปฎิบัติการ 7 4 วางแผนกลยุทธ์ ระยะสั้นและยาว 6 5 เสริมศักยภาพ ภายในองค์การ วางแผนปฏิบัติ การประจำปี 16
ภาคผนวก
ภาคผนวก
(Program for International Student Assessment) PISA 2012 (Program for International Student Assessment) คณิต วิทย์ การอ่าน 1.จีน (เซี่ยงไฮ้) 617 2.สิงคโปร์ 573 3.จีน (ฮ่องกง) 561 4.จีน (ไทเป) 560 5.เกาหลี 554 6.จีน (มาเก๊า) 538 7.ญี่ปุ่น 536 8.ลิกเคนสไตส์ 535 ไทย 427 1.จีน (เซี่ยงไฮ้) 580 2. จีน (ฮ่องกง) 555 3. สิงคโปร์ 551 4. ญี่ปุ่น 547 5.ฟินแลนด์ 545 6.เอสโตเนีย 541 7. เกาหลี 538 8.เวียดนาม 528 ไทย 444 1.จีน (เซี่ยงไฮ้) 570 2. จีน (ฮ่องกง) 545 3. สิงคโปร์ 542 4. ญี่ปุ่น 538 5. เกาหลี 536 6. ฟินแลนด์ 524 7.ไอร์แลนด์ 523 8.จีน (ไทเป) ไทย 441
ที่มา : Worldwide Governance Indicators – WGI ประเด็นการวัด/ปี 2549 2550 2551 2552 2553 2554 1. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นฯ 28.37 30.77 31.25 33.65 30.81 33.33 2. ความมีเสถียรภาพทางการเมือง 17 15 12 3. ประสิทธิผลของรัฐบาล 65 66 63 61 58 60 4. คุณภาพของมาตรการควบคุม 57 56 5. นิติธรรม 53.59 52.63 51.92 47.39 49.76 48.36 6. การควบคุมปัญหาทุจริตประพฤติมิชอบ 44 43 42 48 46 45 ค่าคะแนนเต็ม 100 คะแนน ที่มา : Worldwide Governance Indicators – WGI
อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย (IMD: International Institute for Management Development) เป็นผลการจัดอันดับขององค์กรจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้สรุปผลความสามารถทางการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ (World Competitiveness) โดยสำรวจจาก 59 ประเทศ ใน 4 ด้าน คือ ประสิทธิภาพทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Performance) ประสิทธิภาพของภาครัฐ (Government Efficiency) ประสิทธิภาพทางธุรกิจ (Business Efficiency) ประสิทธิภาพของโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)
ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ๔ ด้าน ข้อมูลจากการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของ Institute for Management Development : IMD WORLD COMPETITIVENESS YEARBOOK
เปรียบเทียบอันดับความสามารถในการแข่งขันของไทยกับประเทศอาเซียน “เปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศอาเซียน พบว่าประเทศไทยดีกว่าประเทศอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์เท่านั้น”
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - 2560) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - 2560) เป้าหมาย เป็นกลไกการบริหารของภาครัฐในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาล สามารถตอบสนองความต้องการและอำนวยความสะดวกต่อประชาชนอย่างรวดเร็ว ... มุ่งเน้นให้ส่วนราชการมีความเข้มแข็ง มีธรรมาภิบาล ไม่มีความเสี่ยงด้านทุจริตและประพฤติมิชอบ คุ้มค่าเชิงภารกิจของรัฐ นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ในการทำงาน และมีความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน... เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ...
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - 2560) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - 2560) 1. การยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการสาธารณะ (Service Excellence) 2. การพัฒนาองค์กรภาครัฐให้มีความทันสมัย มีขีดสมรรถนะสูงและพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้เป็นมืออาชีพ (HPO) 3. การสร้างคุณค่าและความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (Public Value) 4. การบริหารงานและการบูรณาการการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integration) 5. การมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน (Collaboration) 6. การยกระดับความโปร่งใสและความเชื่อมั่นศรัทธาในหน่วยงานของรัฐ (Integrity) 7. การขับเคลื่อนระบบราชการไทยเพื่อพร้อมเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน (Readiness for ASEAN 2558) หมายเหตุ : ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนรับฟังความคิดเห็น
Thank You!