ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ. การสร้างเสริมสุขภาพ ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. สามารถอธิบายแนวคิด หลักการ การสร้าง เสริมสุขภาพองค์รวมได้ถูกต้อง 2.สามารถใช้กระบวนการการสร้างเสริมสุขภาพ องค์รวมได้ถูกต้อง
แนวคิดและหลักการสร้างเสริมสุขภาวะองค์รวม
แนวคิดพื้นฐานการสร้างเสริมสุขภาวะองค์รวม จิตประสาทและภูมิคุ้มกันวิทยา - ควอนตัมฟิสิกส์ - เทวนิยม
แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาวะองค์รวม แนวคิดองค์รวมเชื่อว่าสุขภาพและการเจ็บป่วยเป็นผลจากหลายๆ สาเหตุ ไม่ได้เกิดจากสาเหตุใด สาเหตุเดียวโดยเด็ดขาด ทั้งนี้ขึ้นกับประสบการณ์ ความเชื่อและวัฒนธรรมของบุคคลด้วย ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ จะเน้นการบูรณาการประสบการณ์ ความเชื่อและวัฒนธรรมของบุคคลเข้าสู่การดูแลสุขภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้บุคคลมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง และอยู่อย่างมีความหมาย
แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาวะองค์รวม การส่งเสริมสุขภาพตามแนวคิดองค์รวม ใช้กระบวนการที่ช่วยให้บุคคลเข้าใจตนเอง เป้าหมาย และความหมายของชีวิต และเข้าใจว่าตนเองจะเคลื่อนไปสู่สภาวะนั้นได้อย่างไร เมื่อตนเองเข้าใจเป้าหมายของชีวิต และอยู่อย่างมีความหมาย จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวร
การสร้างเสริมสุขภาวะองค์รวม จุดเน้น: การสร้างปัจจัยเกื้อหนุนเพื่อสุขภาพ การทำความเข้าใจกับปัญหารากฐานของ สุขภาพ และการแก้ปัญหารากฐาน
แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพแนวใหม่ ทำความเข้าใจกับปัญหารากฐานที่ทำให้ทุกข์ทรมาน/เจ็บป่วย ความยากจน การทารุณกรรม การพลัดพราก การกดขี่ของสังคม เครียด
ปัญหาที่เกิดจากความเครียด - ปัญหาทางกาย เช่น ปวดไมเกรน โรค กระเพาะอาหาร โรคความดันเลือดสูง ฯลฯ ปัญหาพฤติกรรม เช่น สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า, กินมาก เล่นการพนัน, สำส่อนทางเพศ ปัญหาสุขภาพ
บทบาทของบุคลากรด้านสุขภาพ ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือให้บุคคลเข้าใจตนเอง และประพฤติในทิศทางที่มีความหมายต่อชีวิต ไม่ได้มุ่งเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ทักษะที่สำคัญของบุคลากรสุขภาพคือ การฟัง การช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย และเกิดความเชื่อมโยงของกายและจิต มีสติ สมาธิในการคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจกระทำในสิ่งที่ตนให้คุณค่า และมีความหมายต่อชีวิต ต่อบุคคล
Nurses’ Experiences in Integrating CTs Now, let’s move on to the types of therapies for stroke. Massage was one of the most common treatments people used for Roak-Lom (wind element related illness), including stroke. There were many kinds of masseurs namely, Mhor Beeb, Mhor Nuad, and Mhor Jubsen. Mhor Jubsen seemed to be the most effective type of masseur for stroke since Mhor Jubsen was believed to be able to open the wind gate that was the first step in correcting the fault of the body lines. As a whole, massage is effective in treating paralysis by: Nurses’ Experiences in Integrating CTs