Assist. Prof. Surinporn Likhitsathian Department of Psychiatry

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
Advertisements

สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
หลักการตลาด บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค.
โรคสมาธิสั้น.
Physiology of Crop Production
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์
พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )
แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษา การฝึกอบรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
( Organization Behaviors )
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
( Organization Behaviors )
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
(Individual and Organizational)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
Personality Development
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ความผิดปกติทางเพศ เฟตติชิซึ่ม (fetishism).
Chanesd srisukho.  ผู้หญิงเอาแต่ใจ ชอบแสดงออกเกินความเป็นจริง ชอบ แต่งกายให้คนรอบข้างสนใจ แต่ใจอ่อน เชื่อคนง่าย ดังนั้นผู้ป่วยเป็น Personality trait.
ที่มา: Causal Process in Criminality in Don C
Demand in Health Sector
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
บทที่ 3 การสื่อสารการตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
1. พระเยซูทรงต้องการให้เราเป็น เหมือนพระองค์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Assist. Prof. Surinporn Likhitsathian Department of Psychiatry Gender Identity Assist. Prof. Surinporn Likhitsathian Department of Psychiatry

วัตถุประสงค์ อธิบายความหมายของ Gender Identity ระบุถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ Gender Identity Development ระบุถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสดงออกทางเพศ (Gender role)

เนื้อหา Sex and sexuality Psychosexual development Sexual identity and gender Identity Gender Identity disorder

Sex v.s. Gender "Male" and "female" sex category "Sex" refers to the biological and physiological characteristics that define men and women. "Gender" refers to the socially constructed roles, behaviors, activities, and attributes that a given society considers appropriate for men and women. "Male" and "female" sex category “Masculine" and "feminine" gender category

เพศ เพศสรีระ (sex, sexual physiology, anatomy) เพศสภาพ เพศสภาวะ (gender) เพศวิถี (sexuality) เราทุกุคนเกิดมามีร่างกายเป็นตัวกำหนดเพศว่าเป็นหญิงหรือชาย เรียกว่า เพศสรีระ เมื่อเราเติบโตสังคมที่มีวัฒนธรรมที่ต่างกันไป ในแต่ละสังคมมีการกำหนดบทบาทและความคาดหวังในความเป็นหญิงหรือชาย เรียกว่า เพศสภาวะ เช่น ผู้หญิงต้องอ่อนหวาน นุ่มนวล ผู้ชายต้องกล้าหาญ เข้มแข็ง โดยบทบาทเหล่านี้ อาจปป.ไปตามกาลเวลาและยุคสมัย เพศสรีระ ถูกกำหนดจากสภาพทางชีววิทยาของเราตั้งแต่เกิด โดยทั่วไป จะเป็นเป็นหญิงกับชาย หรือมีทั้ง 2 เพศที่เรียกว่า กะเทยแท้ ลักษณะทางเพศสรีระของมนุษย์เป็นความแตกต่างทางกาย เพื่อประโยชน์ในการเจริญพันธ์ เช่น ผู้หญิงมีรังไข่ มดลูก ตั้งท้องได้ เพศสภาวะ หรือ Gender หรือ ความเป็นหญิงหรือชาย กว่าที่แต่ละคนจะเติบโตมา ล้วนผ่านการเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน ขัดเกลา เรื่องเพศสภาวะ หรือความเป็นหญิงหรือชาย จากคนรุ่นผู้ใหญ่ ที่มีความเชื่อบางอย่างเกี่ยวกับเรื่องนี้ เช่น บอกว่าผู้หญิงควรทำตัวอย่างไร ใส่เสื้อผ้า สีอะไร ควรทำงานอะไร ความเชื่อเหล่านี้ ยังถูกตอกย้ำ ผ่านสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว เข่น โรงเรียน สื่อต่างๆ ซึ่งเป็นความคาดหวังและถูกกำหนดมาภายหลัง บางครั้งถ้าไม่ปฏิบัติตาม จะถูกมองว่า นอกกรอก นอกกระแส ดังนั้น เพศสภาวะ จึงประกอบไปด้วย ความคิด ความเชื่อ และความคาดหวังต่อพฤติกรรม บทบาท หน้าที่ ให้ตรงตามความเป็นเพศที่สังคมกำหนดไว้ เพศสภาวะโดยตัวของมันเอง จึงปป.ได้ เมื่อความคิด ความเชื่อในเรื่อง ในเรืองเพศของคนในสังคม มีมุมมองที่เปลี่ยนไป เพศวิถี หรือ การมีชีวิตทางเพศของมนุษย์ บนพื้นฐานทางกายภาพที่มนุษย์มี 2 เพศ ทำให้เชื่อว่าผู้หญิงกับผู้ชายคู่กัน แต่ในความเป็นจริง การแสดงอกถึงตัวตน และมีคู่ เป็นความพึงพอใจส่วนตัวระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ที่ไม่ได้เฉพาะเจาะจงว่า “ต้องมีความรักกับคนต่างเพศเสมอไป” ซึ่งปัจจบันสังคมเปิดพื้นที่และเข้าใจในเรื่องนี้มากขึ้น ดังนั้น เราจึงอาจพบเห็ฯ หรือมีเพื่อนใกล้ชิดเป็นคนรักเพศเดียวกัน หรือมีตัวตนทางเพศที่แตกต่างกับการคาดหวัง รสนิยมและความพึงพอใจทางเพศ ไม่ได้เป็นเรื่องตามตัวว่า คนเราจะต้องรักกับคนเพศหนึ่งเพศใดไปตลอด ในช่วงหนึ่งของชีวิต แต่ละคนอาจมีประสบการ์ณของชีวิตทางเพศที่เปลี่ยนแปลงไปมาได้ เช่น เคยมีคนรักที่เป็นเพศตรงข้าม และต่อมาเปลี่ยนคู่รักมาเป็นคนเพศเดียวกัน WHO ได้ให้การยอมรับและมีเอกสารรับรองในเรื่องนี้มานานแล้ว แต่สังคมส่วนใหญ๋ยังขาดความเข้าใจ จึงทำให้การรักเพศเดียวกัน ถูกให้ความหมายว่าเบียงเบน และนำไปสู่ความกลัว รังเกียจ เกิดความรู้สึกแบ่งแยก และเลือกปฏิบัติได้

Psychosexual factors and psychosexual development

พัฒนาการของจิตใจทางด้านเพศ Psychosexual development [1] Oral phase (0 – 1 Yr.) Anal phase (1 – 3 Yr.) Phallic phase (3 – 6 Yr.) Oedipal phase or genital phase Latency phase (7 – 12 Yr.)

พัฒนาการของจิตใจทางด้านเพศ Psychosexual development [2] Sigmund Freud อธิบายว่า เด็กเริ่มการเกิดการรับรู้เรื่องเพศและการเกิดเอกลักษณ์ทางเพศ (gender identity) ในระยะ Phallic phase (3-5 yr.) เด็กจะให้ความสนใจและแสวงหาความพึงพอใจและความตื่นเต้นกับความรู้สึกบริเวณอวัยวะเพศ

พัฒนาการของจิตใจทางด้านเพศ Psychosexual development [3] ในระยะนี้ เด็กชายเกิด castration anxiety ในระยะนี้ เด็กหญิงเกิด penis envy ปมอีดีปุสสลาย (resolve oedipal complex)  identify same sex parents

Psychosexual factors: 4 types 1. Sexual identity: ลักษณะทางเพศในด้านชีวภาพ 2. Gender identity: ความรู้สึกว่าตนเองเป็นเพศชายหรือหญิง 3. Sexual orientation: การรู้สภาพแวดล้อมทางเพศ แปรตามแรงดลใจทางเพศ (sexual impulse) ที่มุ่งไปของแต่ละคนต่อ เพศตรงข้าม [Heterosexual] หรือ เพศเดียวกัน [Homosexual] หรือ ทั้ง 2 เพศ [Bisexual] 4. Sexual behavior: พฤติกรรมทางเพศ

I. Sexual identity

I. Sexual identity The objective categorisation of a person's physiological status as male or female. Biological sexual characteristics

II. gender identity

II. Gender Identity [1] เด็กเริ่มรับรู้ว่าตัวเองเป็นเพศใดประมาณ 3 ขวบ A subjective, but continuous and persistent, sense of oneself as masculine or feminine. เป็นภาวะทางจิตใจซึ่งสะท้อนความรู้สึกภายในว่าต้องการเป็นเพศชายหรือหญิง เด็กเริ่มรับรู้ว่าตัวเองเป็นเพศใดประมาณ 3 ขวบ

II. Gender Identity [2] Gender role: บทบาททางเพศที่แสดงออก การเรียนรู้จากประสบการณ์กับสมาชิกภายในและภายนอกครอบครัว ทัศนคติของพ่อแม่และสังคม (parental and cultural attitude) Gender role: บทบาททางเพศที่แสดงออก เป็นแบบแผนพฤติกรรมภายนอก หรือสิ่งที่บุคคลกล่าวหรือกระทำ ซึ่งสะท้อนถึงความรู้สึกภายในที่เกี่ยวกับการรับรู้ทางเพศ และเพื่อบ่งบอกว่าตนเป็นหญิงหรือชาย สร้างสมขึ้นตามประสบการณ์การเรียนรู้ มักเข้ากันกับ gender identity

Continuing gender development [1] Childrearing practices are gender-dependent; we not only name and dress children according to sex, but we also talk to and touch them differently. Throughout the rest of childhood and school years Age 3-4 years: preference for same-sex playmates The gender role is better defined by subsequent interactions.

Continuing gender development [2] Boys typically prefer more rough activities, often involving physical aggression. Conversely, girls have been thought to prefer quieter activities, with greater reliance on fantasy and imagined situations. In Adolescence: the influential factors compose Sexuality Personality traits or disorders Peer interaction Anxieties ความสนใจในเรื่องเพศ

Gender stability The realization that girls grown up to be women, that they don't grow penises and becomes men Little boys realize that their penises will not fall off and that they won't grow a vagina and become a woman

Sexual development during adolescence Puberty is a crucial step in the development of both women and men. Physical maturation is marked by secondary sexual characteristics Girls: breasts and female body shape, begin to menstruate Boys: larger genitals, lower voice, body and facial hair, nocturnal emission (wet dream).

III. Sexual orientation

III. Sexual orientation Sexual preference Refers to a person's preference for the same or opposite sex partners Heterosexual, homosexual, bisexual

Sexual orientation The rate of homosexual orientation in the general population has been variously estimated between 2% and 10% 52% of the MZ co-twins of male homosexual twins were also homosexual or bisexual. For DZ male twins, this fell to 22% 48% of MZ co-twins of female homosexual twins were also homosexual.

Homosexuality Normal variation of human life style WHO, 1980, by ICD -10: “sexual orientation alone is not to be regarded as a disorder”

สาเหตุ ปัจจัยทางชีวภาพ จิตวิทยา สังคม วัฒนธรรม ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม: เช่น สัมพันธภาพที่สำคัญๆ ในวัยเด็ก บุคลิกภาพ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ สัมพันธภาพที่ผิดปกติกับพ่อแม่บางอย่างที่มีผลต่อการพัฒนา gender identity และ sexual orientation

IV. Sexual behavior

IV. Sexual behavior ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางเพศ ได้แก่  การตอบสนองทางสรีรวิทยา (physiological responses)  ความแตกต่างของสิ่งเร้าทางเพศ (differences in erotic stimuli)  การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง (mastubation)

เป้าหมายของพัฒนาการทางเพศ  มีความรู้เรื่องเพศ และพัฒนาการทางเพศ เหมาะสมตามวัย เกิดเอกลักษณ์ทางเพศของตนเอง และบทบาททางเพศที่เหมาะสม มีพฤติกรรมการรักษาสุขภาพทางเพศ(sexual health)

Gender identity disorder [1] ความผิดปกติของเอกลักษณ์ทางเพศ คือ การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีความรู้สึกอึดอัดไม่สบายใจอย่างคงที่ต่อเพศที่แท้จริง หรือบทบาททางเพศของตนเอง การเอาแบบอย่างเพศตรงข้ามอย่างชัดเจน และเป็นอยู่ตลอด

Gender identity disorder [2] สาเหตุ ปัจจัยทางชีวภาพ ฮอร์โมน ลักษณะทางร่างกายและจิตใจสังคมของเด็กที่ผิดจากเพศปกติ การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ทัศนคติของพ่อแม่ การเลี้ยงดู

Gender identity disorder [2] อาการแสดงในเด็ก แสดงความต้องการหรือยืนยันว่าตนเป็นเพศตรงกันข้าม ชอบเล่นเป็นเพศตรงข้าม แต่งตัวแบบเพศตรงข้าม ต้องการมีเพื่อนคู่หูเป็นเพศตรงข้าม อาการแสดงในวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ ต้องการใช้ชีวิตหรือได้รับการปฏิบัติจากผู้อื่นแบบเพศตรงข้าม มีความรู้สึกอึดอัดไม่สบายใจกับเพศของตน หรือรู้สึกว่าบทบาทตามเพศของตนเองนั้นไม่เหมาะสมอยู่ตลอด รู้สึกว่าตนเกิดมาผิดเพศ ต้องการเปลี่ยนเพศ(transexualism)

Clinical course Onset of recognizable symptoms usually occurs at 2 to 4 years of age, when sexual identity forms Most individual with symptoms do not develop gender identity disorder, and the behaviors usually gradually disappear Those few children for whom cross-gender behaviors continue through childhood may have gender identity disorder This disorder usually persists throughout the individual’s life

ภาวะที่พบบ่อยสำหรับผู้ที่มีพฤติกรรมผิดเพศตนเอง Homosexualism Transvestism Transvestic fetishism Transsexualism Psychosis

การช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาเอกลักษณ์ทางเพศ การช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาเอกลักษณ์ทางเพศ ต้องคำนึงถึงปัจจัยต่อไปนี้ 1. พัฒนาการตามวัย 2. วุฒิภาวะในการเลือกเพศของตนเอง 3. การวินิจฉัยโรคทางจิตเวช 4. การเลือกวิธีรักษา 5. การติดตามการรักษา

Treatment ครอบครัวบำบัด จิตบำบัด การเล่นบำบัด (play therapy) การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมบำบัด การเปลี่ยนเพศ

Treatment The goal of treatment is rarely to change the individual’s sexual identity These attempts are usually unsuccessful. Realistic goals include reduction of depression and anxiety and improvement of personal and social adjustment.

Treatment Psychotherapy is often use to decrease depression and anxiety associated with the condition Hormone treatment testosterone or estrogen is often used to change the individual’s physical characteristics and improve sense of well being Gender reassignment surgery may be, but is not always, successful in improving the individual’s personal and social adjustment