บทที่ 2 การวิจัยผู้บริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
Consumer Insight: เรื่องที่ต้องเจาะลึกในกลุ่มเป้าหมาย
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ บทที่ 2.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การประเมินผลแผนงานสื่อสาร
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
Management Information Systems
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
การวิเคราะห์ผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ
การเขียนรายงานการวิจัย
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
กระบวนการวิจัย Process of Research
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
การออกแบบการวิจัย.
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัยนิเทศศาตร์FCA2101
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
บทที่ 6 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : ข้อมูลทุติยภูมิ
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
BUA ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ (Business Research Methodology)
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 การวิจัยผู้บริโภค (Consumer Research) หัวข้อเนื้อหา 1. ความหมายของการวิจัยผู้บริโภค 2. ความสำคัญของการวิจัยผู้บริโภค 3. กระบวนการวิจัยผู้บริโภค 4. การกำหนดวัตถุประสงค์ 5. การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ

บทที่ 2 การวิจัยผู้บริโภค (Consumer Research) หัวข้อเนื้อหา (ต่อ) 6. การออกแบบการวิจัย 7. การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ 8. การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล 9. การรายงานผลการวิจัย

ความหมายของการวิจัยผู้บริโภค Hanna and Wozniak (2001, p. 36) อธิบายว่าการวิจัยผู้บริโภคหมายถึง วิธีการที่มีระบบและนักการตลาดนำมาใช้ศึกษาการตัดสินใจและกระบวนการแลกเปลี่ยนของผู้บริโภค ในทรรศนะของ Govoni (2004, p. 45) การวิจัยผู้บริโภคหมายถึง การใช้ระเบียบวิธีวิจัยและเทคนิควิธีที่หลากหลายในการสำรวจและวิเคราะห์พฤติกรรมผู้ซื้อ

ความสำคัญของการวิจัยผู้บริโภค 1. นำข้อมูลที่ได้จากการวิจัยมากำหนดเป็นกลยุทธ์การตลาด 2. สามารถเปรียบเทียบและคาดคะเนพฤติกรรมผู้บริโภค 3. ช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์และแผนการตลาดให้เหมาะสมกับ ผู้บริโภค 4. ธุรกิจมีภาพลักษณ์ที่ดี

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค การรายงานผลการวิจัย การศึกษา โดยการสืบเสาะ การกำหนดวัตถุประสงค์ การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ การออกแบบวิจัยเชิงคุณภาพ การออกแบบวิจัยเชิงปริมาณ การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การวิเคราะห์ข้อมูล

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค (ต่อ) 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ 1.1 การกำหนดปัญหาในการวิจัย (Formulating the problem) 1.2 การกำหนดวัตถุประสงค์ในการวิจัย (Developing research objectives)

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค (ต่อ) 2. การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (collecting secondary data) 2.1 แหล่งข้อมูลทุติยภูมิภายใน (Internal secondary data) 2.2 แหล่งข้อมูลทุติยภูมิภายนอก (External secondary data)

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค (ต่อ) 3. การออกแบบการวิจัย (research designs) 3.1 การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research designs) 3.1.1 วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ 3.1.1.1 การสังเกต (Observational research) 3.1.1.2 การทดลอง (Experimentation) 3.1.1.3 การสำรวจ (Surveys) )

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค (ต่อ) 3. การออกแบบการวิจัย (research designs) (ต่อ) 3.1.2 เครื่องมือรวบรวมข้อมูลวิจัยเชิงปริมาณ 3.1.2.1 แบบสอบถาม (Questionnaires) 3.1.2.2 การวัดทัศนคติ (Attitude scales)

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค (ต่อ) 3. การออกแบบการวิจัย (research designs) (ต่อ) 3.2 การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพและการเก็บรวบรวมข้อมูล (Qualitative research designs and data collection methods) 3.2.1 วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ 3.2.1.1 การสัมภาษณ์บุคคลเชิงลึก (Depth interviews)

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค (ต่อ) 3. การออกแบบการวิจัย (Research designs) (ต่อ) 3.2.1.2 การสัมภาษณ์กลุ่มย่อย (Focus group) 3.2.1.3 วิธีการฉายภาพความคิด (Projective techniques) 3.2.2 เครื่องมือรวบรวมข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค (ต่อ) 4. การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ (Collecting primary data) 4.1 การกำหนดตัวอย่าง (Sampling) 4.1.1 วิธีการสุ่มตัวอย่าง 4.1.2 การกำหนดขนาดตัวอย่าง 4.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data collection)

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค (ต่อ) 5. การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล (Data analysis and data interpretation ) 5.1 การจัดเตรียมข้อมูล 5.1.1 การตรวจสอบ (Editing) 5.1.2 การลงรหัสข้อมูล (Coding) 5.1.3 การจัดทำตารางข้อมูล (Tabulation)

กระบวนการวิจัยผู้บริโภค (ต่อ) 5. การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล (Data analysis and data interpretation ) (ต่อ) 5.2 การวิเคราะห์ข้อมูล 5.3 การแปลความหมายข้อมูล 6. การรายงานผลการวิจัย (Reporting research) 6.1 หลักเกณฑ์ในการเขียนรายงานการวิจัย 6.2 รูปแบบการเขียนรายงานการวิจัย