คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสุ่มงาน(Work Sampling)
Advertisements

ความน่าจะเป็น Probability.
สับเซตและเพาเวอร์เซต
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ออกแบบการนำเทคโนโลยีกระบวนการ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Probability & Statistics
Probability & Statistics
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
วิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ตัวอย่างที่ 2.10 วิธีทำ เหรียญ.
การเปรียบเทียบค่าเงินเหรียญ
วิชา คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ เรื่อง เซต
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ครูธีระพล เข่งวา 1 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง พระธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ครูผู้สอน …… นายธี ระพล เข่งวา โรงเรียนวัง.
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
คำกล่าวที่ไม่อยากให้ลืม… ก่อนจบ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สิทธิของพลเมืองไทย ตามรัฐธรรมนูญ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (Probability of an event)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค 33101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความน่าจะเป็น เรื่อง เหตุการณ์

เหตุการณ์ หมายถึง ผลลัพธ์ที่เราสนใจ จากผลลัพธ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม หมายเหตุ เหตุการณ์เป็น สับเซต(เซตย่อย) ของแซมเปิลสเปซ (หรือ ปริภูมิตัวอย่าง)

ในการทดลองสุ่ม โดยการโยนเหรียญบาท 1 อัน 1 ครั้ง ผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดมี 2 อย่าง คือ ขึ้นหัว หรือขึ้นก้อย ถ้าให้ H แทนหัว, และ T แทนก้อย และถ้าให้ S แทนแซมเปิลสเปซ ของการทดลองสุ่มนี้

จะได้ S = {H , T} (เขียนในรูปเซต) ถ้าผลลัพธ์ที่เราสนใจ คือ เหรียญขึ้นหัว เรียกผลลัพธ์ที่ได้เหรียญขึ้นหัวนี้ว่า เหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหัว หมายเหตุ นิยมใช้ E แทนเหตุการณ์ที่ สนใจใด ๆ

นั่นคือ ถ้าให้ E แทนเหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหัว จะได้ E = {H} (เขียนในรูปเซต) ให้นักเรียนทำกิจกรรมต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 1 โยนเหรียญบาท 3 เหรียญ 1 ครั้ง จงหาผลลัพธ์ของเหตุการณ์ต่อไปนี้ (H = หัว , T = ก้อย) 1) เหตุการณ์ที่จะออกก้อย อย่างน้อย 2 เหรียญ 2) เหตุการณ์ที่จะออกหัว 2 เหรียญ

H T HHH T H HHT H HTH HTT THH THT T TTH TTT ผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดจาก โยน 3 เหรียญ พร้อมกัน เหรียญที่ 1 เหรียญที่ 2 เหรียญที่ 3 H T HHH T H HHT H HTH HTT THH THT T TTH TTT

HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH และ TTT จะได้ ผลลัพธ์ทั้งหมด ที่อาจจะเกิดขึ้น จากการทดลองสุ่ม มี 8 แบบ คือ HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH และ TTT

HTT , THT , TTH และ TTT 1) เหตุการณ์ที่จะออกก้อยอย่างน้อย 1) เหตุการณ์ที่จะออกก้อยอย่างน้อย 2 เหรียญ มีผลลัพธ์ 4 แบบ คือ HTT , THT , TTH และ TTT

2) เหตุการณ์ที่จะออกหัว2 เหรียญ มีผลลัพธ์ 3 แบบ คือ HHT , HTH และ THH

(หน้า 39) ตัวอย่างที่ 2