นโยบายการพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Department for development of Thai Traditional and Alternative Medicine กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก.
ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่สำคัญ
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การตรวจราชการ ปีงประมาณ 2558
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
Evaluation of Thailand Master Plan
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และอนุรักษ์ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ผศ.(พิเศษ) ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก

วิสัยทัศน์กระทรวงสาธารณสุข “ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน” เป้าประสงค์ อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี

จุดเน้น นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2558 สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตลอดช่วงวัย เน้นการสร้าง Health Mindset ส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่าของผู้สูงอายุและพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ (Healthy & Active life for Thai Elderly) เพิ่มความสามารถในการเข้าถึงบริการสุขภาพในทุกกลุ่มประชากรบนผืนแผ่นดินไทย ยกระดับคุณภาพบริการตาม Service Plan ให้ครอบคลุมทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ(Primary Care) ทุติยภูมิ (Secondary Care) ตติยภูมิ (Tertiary Care) และ ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง (Excellent Center) ระบบการส่งต่อ (Referral System) และการพัฒนาศูนย์สุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ส่งเสริมความร่วมมือและบริหารทรัพยากรร่วมระหว่างรัฐและเอกชน พัฒนาการแพทย์แผนไทย สมุนไพรไทยเพื่อการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมและพัฒนารูปแบบเครือข่ายระบบบริการสาธารณสุขระดับอำเภอ (District Health System )

ประเด็นสำคัญ แพทย์แผนไทยคือคำตอบของปัญหาระบบบริการสาธารณสุขส่วนใหญ่ ความเลื่อมล้ำของระบบบริการ ขาดการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ความแออัดรพ.ขาดทุน ขาดแคลนบุคลากรโดยเฉพาะแพทย์ในระดับปฐมภูมิ เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจของประเทศ ลดรายจ่ายการใช้ยานำเข้าจากต่างประเทศ และส่งเสริมเกษตรกรให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการผลิตและจำหน่ายสมุนไพร เพิ่มการส่งออกและส่วนแบ่งการตลาดของผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย และนวดไทย สอดคล้องกับนโยบาย ของ คสช. ยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการแพทย์แผนไทย และศูนย์วิจัยแห่งอาเซียน (TT.MH. & RC of ASEAN) และแพทย์แผนไทยมีมาตรฐาน มีความรู้ความสามารถ มีเกียรติและศักดิ์ศรี เป็นแพทย์ทางหลักของประเทศ

ผลการดำเนินงาน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 16 จำแนกรายเขตบริการสุขภาพ 1 ร้อยละ 16 ที่มา : ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงาน ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2557

ผลการดำเนินงาน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละของของหน่วยบริการที่เปิด OPD แพทย์แผนไทยคู่ขนาน ร้อยละ 50 จำแนกรายเขตบริการสุขภาพ 1 ร้อยละ 50 ที่มา : ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงาน ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2557

ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Vision : นำการแพทย์แผนไทยให้เป็นแพทย์ทางหลัก ของชาติไทย Mission : พัฒนาแพทย์แผนไทยให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ได้รับการยอมรับในระดับสากล พัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทย (TTM. Service Plan) พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างศักยภาพ Thai Traditional Medical Hub (Herbal Product) พัฒนาการศึกษาและวิจัยการแพทย์แผนไทย (Academic Hub) พัฒนาระบบและกลไก การคุ้มครองภูมิปัญญาไทย (Herbal and Thai Wisdom Protection and Promotion)

ความเชื่อมโยงเชิงยุทธศาสตร์ Country Strategy Cooperate Strategy Department Strategy Expected Outcome การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน และระบบบริการสาธารณสุข OP visit 18% (คลินิกเวชกรรม ผดุงครรภ์ไทย นวดไทยและแพทย์ทางเลือกTM,PP,DC) Internal Process เพื่อพัฒนาระบบบริหารนโยบายด้านสุขภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล มาตรฐาน สร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพ Inclusive Growth เพื่อยกระดับคุณภาพบริการสาธารณสุขด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ Growth & Competitiveness เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มรายได้ให้กับประชาชน Green Growth - เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม PP&DC by Age Group Service & Wellness Strategy Service Development แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษการพัฒนาการแพทย์แผนไทย (TTM Hub of Asia) พัฒนาระบบสารสนเทศ ปรับปรุงกฎหมาย การสื่อสารสาธารณะ Service System Development Reform Strategy Product Hub strategy การพัฒนาระบบยาจากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร Promote Medical Hub การสร้างและจัดการความรู้ การพัฒนากำลังคน พัฒนาการวิจัย Asian Community Development Academic strategy Herbal and Thai Wisdom Protection & Promotion การพัฒนาระบบและกลไก การคุ้มครองภูมิปัญญาไทย

หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลยุทธ์/ มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1.การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน Medicine Box จำนวนชุมชนและชุมชนท้องถิ่นที่มีการดูแลและจัดการด้านสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ๓๐ ชุมชน/ปี มูลนิธิสุขภาพไทยภายใต้ สสส., สช. , คกก.ภูมิปัญญาฯ, สปสช., กรมพัฒน์, อปท. ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบ บริการ การแพทย์ แผนไทย 2. โครงการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ พอสว. ร้อยละของ ปชช. เข้าถึงและใช้บริการ ร้อยละ 18 สป., กรมพัฒน์, สปสช., สบส., คกก.ภูมิปัญญาฯ , สถาบันการศึกษ า, กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ 3.การพัฒนาคุณภาพระบบบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละของสถาน บริการ สธ. ได้ มาตรฐาน ร้อยละ 80 จำนวน รพ.แพทย์ แผนไทยต้นแบบ เขตละ 1 แห่ง 4. พัฒนา/รับรองมาตรฐานนวดไทย ในและต่างประเทศ จำนวนสถานพยาบาล, สถานประกอบการและสถานบริการผ่านการรับรองมาตรฐานนวดไทย -ในประเทศปีละ 2,000 แห่ง -ต่างประเทศ 4 ภูมิภาคทั่วโลก กรมพัฒน์, สสจ., กทม., กรมประชาสัมพันธ์, ก.พาณิชย์, ก.แรงงาน, ก.ต่างประเทศ, ททท.

ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบ บริหาร จัดการที่มี ประสิทธิภาพ กลยุทธ์/ มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ ๑. ยุทธศาสตร์ทศวรรษการพัฒนาการแพทย์แผนไทย -ด้านกำลังคนแพทย์แผนไทย -ด้านการวิจัย -ด้านการนวดไทย -ด้านการคุ้มครองภูมิปัญญา แผนยุทธศาสตร์ได้รับการอนุมัติจาก ครม. ปี 2558 สช., คกก.ภูมิปัญญาฯ, เครือข่ายสมัชชาสุขภาพ ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบ บริหาร จัดการที่มี ประสิทธิภาพ ถ่ายถอดองค์ความรู้หมอพื้นบ้าน 8,000 คน กรมพัฒน์,สธ.,สปสช., ICT สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ๑๐ เรื่อง/ปี ๒.พัฒนาระบบสารสนเทศ พัฒนาระบบรายงานและฐานข้อมูลTTDK 1 ระบบ พัฒนาและปรับปรุงประกาศ ระเบียบ และกฎหมาย ๓.พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย 6 ฉบับ กรมพัฒน์, สำนักกฎหมาย กรมพัฒน์, กระทรวงศึกษาธิการ, ,กระทรวงเกษตรฯ,ICT พิพิธภัณฑ์สมุนไพรไทยและภูมิปัญญาไทยได้รับการปรับปรุง ๔.ปรับปรุงพิพิธภัณฑ์สมุนไพรเพื่อรองรับอาเชี่ยน 1 แห่งในปี 2558

ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 3 กลยุทธ/ มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ ๑.ส่งเสริมการพึ่งตนเองด้านสมุนไพร ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรในชุมชน ๒ ไร่/ตำบล หรือแสนไร่ใน ๕ ปี กรมพัฒน์,คกก.คุ้มครองฯ,เครือข่ายหมอพื้นบ้าน,อปท.,กรมวิชาการเกษตร, รายการในบัญชียาหลักแห่งชาติ ๑๐% รายการยาทั้งหมด กรมพัฒน์,คกก.พัฒนาระบบยาฯ,สปสช.,อย.,GPO,สถาบันวิจัยสมุนไพร,สถาบันบรมราชชนก,กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ,มหาวิทยาลัย ๒.ส่งเสริมความเข้มแข็งของระบบยาสมุนไพร มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร ๑๐ % ของมูลค่าการใช้ยาทั้งหมด ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้าง ศักยภาพ Thai Traditional Medical Hub (Herbal Product) การกระจายยาของจังหวัด ๗๗ จังหวัด ใน ๕ ปี ระบบติดตามการใช้ยา รายงานปีละ ๑ ครั้ง การผลิตได้มาตรฐานตาม Asian Harmonization ๕% กรมพัฒน์, อย., กรมวิทย์ฯ, มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา, กท.เกษตรฯ, กท.ทรัพยากรฯ, กท.อุตสาหกรรม, กท.วิทยาศาสตร์, กท.พาณิชย์, GPO, กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๓.การพัฒนาศักยภาพมาตรฐานอุตสาหกรรมยาไทย โรงงานผลิตยากลางสมุนไพรระดับภาค ๑ แห่ง/ภาค วัตถุดิบมีคุณภาพ ๕๐% ผ่านการตรวจสอบ มีระบบ+กลไกในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ระบบและกลไกระดับชาติ ภูมิภาค และชุมชน ๔.การส่งเสริม+พัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ส่งเสริมการสื่อสารสาธารณะและการตลาด ส่งเสริมศักยภาพและมาตรฐานการผลิต

ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนา การศึกษา และการวิจัย การแพทย์ แผนไทย กลยุทธ/ มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ ๑.การพัฒนาระบบฐานข้อมูลกำลังคน ระบบเครือข่ายฐานข้อมูลกำลังคนของประเทศ ๑ ระบบ กรมพัฒน์, สป., กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๒.การจัดทำแผนแม่บทการพัฒนากำลังคนระดับชาติ แผนแม่บทการพัฒนากำลังคนระดับชาติ ๑ แผนแม่บท กรมพัฒน์, คกก.พัฒนากำลังคนแห่งชาติภายใต้ สช. ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนา การศึกษา และการวิจัย การแพทย์ แผนไทย จำนวนชุมชนที่มีการผลิตกำลังคน ๑๐ ชุมชน กรมพัฒน์, เครือข่ายมหาวิทยาลัย, เครือข่ายหมอพื้นบ้าน, เครือข่ายการแพทย์แผนจีน, สบช., อปท,, อบต. เครือข่ายการอบรมการแพทย์แผนไทย ประเภท ก.,ข. ๑ เครือข่าย ๓.การพัฒนามาตรฐานการผลิตกำลังคน จำนวนงานวิจัยของบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย 100 เรื่อง/ปี เครือข่ายสถาบันการผลิตการแพทย์แผนจีน ๑ เครือข่าย ๔.การพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการพัฒนา ร้อยละ ๘๐ ของบุคลากรภาครัฐ กรมพัฒน์, สป.,เครือข่ายมหาวิทยาลัย ๕.การกำหนดโครงสร้างและกรอบอัตรากำลังคน การมีกรอบอัตรากำลังคนของประเทศ มีกรอบอัตรากำลังแพทย์แผนไทยในระบบบริการ กรมพัฒน์, สป., กพ., กพร., กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, เครือข่ายมหาวิทยาลัย

หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลยุทธ/ มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ ๑.การจัดทำ TTDK ใน ส่วนกลาง ระบบ TTDK ใน ส่วนกลาง ๑ ระบบ กรมพัฒน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบ และกลไก การ คุ้มครองภูมิ ปัญญาไทย ๒.การจัดทำ ข้อตกลงกับ สำนักงานสิทธิบัตร ระหว่างประเทศ ข้อตกลงกับ สำนักงานสิทธิบัตร ระหว่างประเทศ (WIPO) ข้อตกลงกับ WIPO กรมพัฒน์, กระทรวง ตปท., กรมทรัพย์สิน ทางปัญญา ๓.การสร้าง บทบาทเชิงรุก เกี่ยวกับการ คุ้มครองภูมิ ปัญญาไทยใน เวทีเจรจา ระหว่างประเทศ ข้อเสนอของไทย เวทีเจรจาระหว่าง ประเทศ ๑ รายงาน/ปี กระทรวง ตปท., กรมพัฒน์, กรม ทรัพย์สินทางปัญญา จำนวนเครือข่ายใน การเฝ้าระวังและ คุ้มครองฯ ระดับ จังหวัด ๔.การส่งเสริม ชุมชนในการเฝ้า ระวัง+คุ้มครองฯ เครือข่าย ๗๗ จังหวัด กรมพัฒน์, มหาวิทยาลัยใน ภูมิภาค, อปท.

ผลที่คาดว่าจะได้รับ เพิ่มการเข้าถึงบริการ ให้ประชาชนใช้บริการการแพทย์แผนไทยทุก รพ./รพ.สต. ลดความเลื่อมล้ำของระบบบริการ ลดความแออัด แก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากร โดยเฉพาะแพทย์ในระดับปฐมภูมิ ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้ ด้วยสมุนไพรไทย แพทย์แผนไทย และภูมิปัญญาไท ลดรายจ่ายการใช้ยานำเข้าจากต่างประเทศ และส่งเสริมเกษตรกรให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการผลิตและจำหน่ายสมุนไพร เพิ่มการส่งออกและส่วนแบ่งการตลาดของผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย และนวดไทย เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจของประเทศ ระบบสุขภาพของประเทศมีความมั่นคง พัฒนาแพทย์แผนไทยให้ได้มาตรฐาน มีศักดิ์ศรีเป็นแพทย์ทางหลักของประเทศ พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการแพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือกและศูนย์วิจัยแห่งอาเซียน (TT.MH. & RC of ASEAN)

Thank You www.dtam.moph.g.th Department of Thai Traditional  and  Complementary  Medicine   Ministry  of  Public Health www.dtam.moph.g.th