Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
การจัดการความผิดพลาด
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
File.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
05_3_Constructor.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
ตัวแปรชุด.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
C Programming Lecture no. 6: Function.
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
บทที่ 4 Method (1).
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์ (Array).
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
บทที่ 6 เมธอด.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ทำงานกับ File และStream
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
คณิตศาสตร์ และการจัดรูปแบบ
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
บทที่ 3 Class and Object (2).
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
TECH30201 Object-Oriented Programming
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การจัดการกับความผิดปกติ
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output 1106 102 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object – Oriented Programming) Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output Ubon Ratchathani University Mukdahan Campus : อ.วรยุทธ วงศ์นิล

Variable การประกาศตัวแปร ต้องตั้งชื่อตัวแปร ต้องกำหนดประเภทข้อมูลที่จะเก็บ ต้องประกาศก่อนใช้ public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { int number = 0; double sum = 0.0; }

Variable ตัวแปร คือ ชื่อที่กำหนดขึ้นมาเพื่อใช้ในการ จัดเก็บข้อมูล รูปแบบการตั้งชื่อ data_type variableName - ชื่อประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข $ หรือ _ - ห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข - ตัวอักษรใหญ่ไม่เหมือนตัวเล็ก - ต้องไม่ซ้ำกับคำสงวนของภาษาจาวา - ต้องไม่ซ้ำกับชื่ออื่นของโปรแกรมที่ใช้มา ก่อน

Variable virus11 pailin Public month_of_year 7eleven String Yahoo! Kilo per-hour รูปแบบการกำหนดค่า variableName = variable หรืออาจจะทำการกำหนดค่าให้ตัวแปรใน ขั้นตอนการประกาศเลยก็ได้ เช่น float score = 73.25f

ถูก ผิด Variable int n ; double a, b, c ; double x = 0, y, z = 8.5 ; String s = “hello” ; int p ; double q ; Int s ; string t ; y = 6.6 ; double y ; int p, double q ;

Variable การให้ค่ากับตัวแปร ตัวแปรเก็บได้เฉพาะแบบที่ประกาศไว้ int a = 20 ; //ถูก double x = 1.25 ; //ถูก int b = 1.5 ; //ผิด double y = 2 ; //ถูก int n = “1” ; //ผิด String s = 1 ; //ผิด

Variable ตัวแปร (variable) มีความหมายเดียวกันกับฟิลด์ (field) ชนิดของตัวแปร - instance variable (ที่ไม่ใช่ตัวแปรแบบ static) เป็นค่าที่จะไม่เหมือนกันในแต่ละ object - class variable (ตัวแปร static) คือตัวแปรใน คลาส จะมีเพียงชุดเดียวเท่านั้น - local variable คือ ตัวแปรที่ถูกใช้ภายใน เมธอดเท่านั้น เพื่อใช้เก็บข้อมูลชั่วคราว - parameters คือ ตัวแปรที่ถูกส่งไปยังเมธอด ต่างๆ

Operators ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์มีลำดับ ความสำคัญไม่เท่ากัน ดังนี้ ลำดับที่ เครื่องหมาย 1 () 2 ++, -- 3 *, /, % 4 +, - 5 +=, -=, *=, /=, %=

Variable จำนวนเต็ม VS จำนวนจริง 5 / 2 ผลลัพธ์ 2 5.0 / 2.0 ” 2.5 5.0 / 2 ” 2.5 5 / 2.0 ” 2.5 5.25 / 0.5 ” 10.5

Expression ตัวอย่าง 2 * 3 + 8 / - (2 – 4) – 1 = 2 * 3 + 8 / - ( - 2) – 1 = 2 * 3 + 8 / 2 – 1 = 6 + 8 / 2 – 1 = 6 + 4 – 1 = 10 – 1 = 9

Expression 2 + 3 * 4 = - 5 – 3 * 2 = (5 + 1 * 5) % 5 + 1 = 2 * (5 + (17 % 3 / 2) + 26) * 2 + 4 =

การต่อ String System.out.println( “a” + “b” ); //”ab” System.out.println( “a” + 1 ); //”a1” System.out.println( 1 + “a” ); // System.out.println( “1” + “2” ); // System.out.println( “1” + 2 ); // System.out.println( 1 + “2” ); // System.out.println( “a” + 1 + 2 ); // System.out.println( “a” + ( 1 + 2) ); // System.out.println( “a” + ( 1 – 2 )); // System.out.println( “a” + 1 – 2 ); //

Expression ตัวอย่าง การหาพื้นที่ของวงกลมรัศมี 4 ได้ผลลัพธ์เป็น พื้นที่วงกลมรัศมี 4.0 = 50.26544 public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { double r = 4; double pi = 3.14159; double area = pi * r * r; System.out.println("พื้นที่วงกลมรัศมี "+ r +" = " + area); }

Type Conversion int a = 1, b = 2, c ; double d = 2.6 ; double x = 7 ; c = (int)d ; ผลลัพธ์ 2 d = (double)a; ” 1.0 d = (double)( a / b ); ” 0

Constant การกำหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปรสามารถทำได้โดย เพิ่มคำว่า “final” เข้าไป เช่น final float TAX_RATE = 0.0725f ; หากต้องการให้ตัวแปรหรือเมธอดใดๆ ถูก เรียกใช้ได้จากทุกที่ หรือทุก class สามารถทำ ได้โดยเพิ่มคำว่า “static” เช่น static final float TAX_RATE = 0.0725f ;

Data input (Package java.io) แบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ - การรับข้อมูลโดยใช้เมธอด read() เป็นการรับที ละตัวอักษรแบบ char ch = (char)System.in.read() ; - การใช้ BufferedReader ร่วมกับ InputStreamReader โดยใช้เมธอด readLine() รับ ข้อมูลแบบ String ทางแป้นพิมพ์ครั้งละหลายตัวอักษร InputStreamReader reader = new InputStreamReader(System.in); BufferedReader stdin = new BufferedReader(reader); String input = stdin.readLine();

การใช้ read() import java.io.* ; class Read1{ public static void main (String args[])throws IOException { char ch; System.out.print(“Input one character : ”); ch = (char)System.in.read(); System.out.println(“Your input : ” + ch ); }

การใช้ BufferedReader ร่วมกับ InputStreamReader import java.io.*; class Read2 { public static void main(String arge[]) throws IOException{ InputStreamReader reader = new InputStreamReader(System.in); BufferedReader stdin = new BufferedReader(reader); String input = “”; System.out.println(“Please input any character : ”); input = stdin.readLine(); System.out.println(“Your input :” + input); }

Data input (Package java.util) เป็นการรับข้อมูลที่เป็นตัวเลขและนำไปคำนวณต่อได้เลยด้วยคลาส Scanner โดยใช้เมธอด nextInt() import java.util.*; public class InputTest1{ public static void main(String[] args) { Scanner sc = new Scanner(System.in); System.out.println(“Please input number 1”); int num1 = sc.nextInt(); System.out.println(“Please input number2”); int num2 = sc.nextInt(); int result = num1 + num2; System.out.println(“num1 + num2 = ” + result); }

Data input (Package java.util) คลาส Scanner จะไม่มี Exception มา ตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูล แต่จะมีเมธ อด hasNext() ไว้ตรวจสอบเงื่อนไขแบบ boolean NextLine() ไว้เลื่อนไปที่บรรทัดถัดไป มาช่วยในการตรวจสอบ

Data input & output (Swing) Swing ถือ package หนึ่งใน Java ที่มีการ ทำงานของข้อมูลรับเข้าและการแสดงผลใน รูปแบบกราฟิก เรียกใช้ด้วยคำสั่ง Import javax.swing.* ;

JOptionPane คลาส JOptionPane มีเมธอดหลักอยู่ 2 เมธอด คือ - showInputDialog() คือ เมธอดสำหรับสร้าง จอภาพเพื่อให้ user ป้อนข้อมูล ซึ่งเมธอดจะรับข้อมูล ที่อยู่ในรูปของ String String in =JOptionPane.showInputDialog(“input”); - showMessageDialog() คือ เมธอดที่ใช้ แสดงผลลัพธ์แจ้งแก่ user เท่านั้น JOptionPane.showMessageDialog(nulll, “sum is :”, “result”, JOptionPane.INFORMATION_MESSAGE);

Data input & output (Swing) ตัวอย่างการแสดงผลแบบ GUI import javax.swing.* ; Class TestSwing{ public static void main(String args[]){ JOptionPane.showMessageDialog(null, “Welcom\nto\nJava\nProgramming!”); System.exit(0); }

ชนิดของจอภาพที่ใช้แสดงใน showMessageDialog() Message Dialog Type การทำงาน JOptionPane.ERROR_MESSAGE แสดงจอภาพให้ทราบว่ามี Error เกิดขึ้น JOptionPane.INFORMATION_MESSAGE แสดงจอภาพเพื่อแสดงผลลัพธ์ (Default) JOptionPane.WARNING_MESSAGE แสดงจอภาพเพื่อเตือน JOptionPane.QUESTION_MESSAGE แสดงจอภาพเพื่อถาม

ตัวอย่าง การหาผลรวมของเลข 2 จำนวน Import javax.swing.JOptionPane class Addition{ public static void main(String args[]){ String firstNum, secondNum; int num1, num2, sum; firstNum=JOptionPane.showInputDialog(“Enter first integer”); secondNum=JOptionPane.showInputDialog(“Enter second integer”); num1=Integer.parseInt(firstNum); num2=Integer.parseInt(secondNum); sum=num1 + num2; JOptionPane.showMessageDialog(null, “The sum is” + sum, “Result”, JOptionPane.INFORMATION_MESSAGE); System.exit(0); }

Lab 3 โดยมีเงื่อนไขคือ - ราคารถ 559,000 บาท ให้เขียนโปรแกรมคำนวณจำนวนเงินต่อเดือนในการ ผ่อนรถ Toyota new Vios โดยมีเงื่อนไขคือ - ราคารถ 559,000 บาท - user สามารถกำหนดเอง ต้องการดาวน์กี่ เปอร์เซ็นต์ก็ได้ - ที่เหลือผ่อนโดยให้ user กรอก จำนวน เดือนที่ต้องการผ่อน เช่น 12 24 36 48 60 72 หรือ 84 เดือน - ไม่มีดอกเบี้ยในการผ่อน

Lab 3 ตัวอย่างผลลัพธ์ เปอร์เซ็นต์ที่ต้องการดาวน์ : 25 จำนวนเดือนที่ต้องการผ่อน : 48 คุณต้องผ่อนชำระเป็นเงิน 8734.38 บาทต่อเดือน