การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Control structure part II
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
การแสดงผลและ รับข้อมูล. คำสั่ง Write เป็นคำสั่งที่นำข้อมูลที่ ต้องการแสดงผลที่ จอภาพเมื่อตอนสั่งรัน โปรแกรมไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวเลข การ.
รับและแสดงผลข้อมูล.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
Repetitive Statements (Looping)
Repetitive Instruction
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
การรับข้อมูล และ การแสดงผล
SCC : Suthida Chaichomchuen
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
WHILE..DO คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ โดยที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนที่จะทำ
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
ตัวอย่างคำสั่ง CASE.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
ครูรัตติยา บุญเกิด.
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
Operators ตัวดำเนินการ
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน 1. จํ านวนเต็ม (Integer Data Type) 2. จํ านวนจริง (Real Data Type) 3. ตัวอักขระ (Character Data Type) 4. ตรรกศาสตร ? (Boolean.
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output) บทที่ 5 การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)

โครงสร้างควบคุม (CONTROL STRUCTURE) โครงสร้างแบบลำดับ (Sequence structure) โครงสร้างแบบเลือก (Selection structure) โครงสร้างแบบกรณี (case structure) โครงสร้างแบบซ้ำ ในขณะที่เงื่อนไขเป็นจริง (do while structure) โครงสร้างแบบทำซ้ำจนกระทั่ง เงื่อนไขเป็นจริง (do until structure)

โครงสร้างควบคุม คำสั่ง IF (IF statement) คำสั่ง CASE (Case statement) คำสั่ง FOR (For statement) คำสั่ง REPEAT UNTIL (Repeat until statement) คำสั่ง WHILE DO (While do statement)

คำสั่งที่ทำหน้าที่เป็น INPUT ตัวแปร ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เราจะรับมาถ้ามีข้อมูลหลายชุดก็จะต้องมีหลายตัวแปร ตัวแปรแต่ละตัวแปรจะคั่นด้วยเครื่องหมาย “,” เสมอ และการป้อนข้อมูลให้กับตัวแปรแต่ละตัวจะต้องคั่นด้วยการเว้นวรรคหรือกด ENTER READLN คำสั่งนี้จะทำหน้าที่นำข้อมูลจากแป้นพิมพ์เข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร เหมือนคำสั่ง READ แต่แตกต่างกันตรงที่ READLN เมื่อรับข้อมูลเข้ามาจัดเก็บในตัวแปรแล้ว CURSOR จะขยับลงมาอีก 1 บรรทัด

คำสั่งที่ทำหน้าที่เป็น OUTPUT WRITELN คำสั่งนี้จะทำหน้าที่นำข้อมูลตัวเลข ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลตัวอักษรที่อยู่ในรูปข้อความ (STRING) หรือข้อมูลชนิดต่างๆที่อยู่ในตัวแปร ออกมาแสดงผลทางจอภาพ เหมือนกับคำสั่ง WRITE แต่แตกต่างกันตรงที่ WRITELN เมื่อแสดงค่าต่างๆ ออกทางจอ ภาพแล้ว CURSOR จะขยับลงมาอีก 1 บรรทัด

จากตัวอย่างข้างบนนำมาสร้างเป็นโปรแกรมที่สมบูรณ์ PROGRAM WRITE_DEMO; BEGIN WRITELN (1234); WRITELN (124.75:3:2); WRITELN ('A'); WRITELN ('ILOVEU'); END.

ผลลัพธ์ 1234 124.75 A ILOVEU

รูปแบบโปรแกรมที่มีการรับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์แล้วนำมาแสดงผลทางจอภาพโดยมีการรับค่า ค่าที่หนึ่งเป็นตัวเลข ค่าที่สองเป็นเลขมีทศนิยม ค่าที่สามเป็นข้อความ PROGRAM INPUT_OUTPUT; VAR X:INTEGER; A:REAL; CD:STRING; BEGIN WRITE('ENTER INTEGER:'); READLN (X); WRITE('ENTER REAL:'); READLN (A); WRITE('ENTER STRING:'); READLN (CD); WRITELN(X); WRITELN(A:6:3); WRITELN(CD); END.

ผลลัพธ์ ENTER INTEGER: 7 ENTER REAL: 124.75 ENTER STRING: ILOVEU 7 124.750

การคำนวณ การคำนวณในรูปแบบของ PASCAL จะมีการปฏิบัติการโดยมี OPERATOR ต่อไปนี้ + คือการบวกกัน - คือการลบกัน * คือการคูณกัน / คือการหารกัน DIV คือการหารกันโดยผลลัพธ์ที่ได้จะถูกตัดเศษทิ้ง MOD คือการหารกันโดยผลลัพธ์ที่ได้คือเศษของการหาร

ลำดับการทำงานของตัวดำเนินการคณิตศาสตร์ มีการจัดอันดับ (Ordering) ของตัวดำเนินการเลขคณิตเมื่อนิพจน์ประกอบด้วย ตัวดำเนินการอยู่ในระดับ (level) เดียวกันหลายชนิด คอมพิวเตอร์จะทำงานจากซ้ายไปขวา ถ้ามีเครื่องหมายวงเล็บ ให้ทำการคำนวณในวงเล็บก่อน การจัดอันดับตัวดำเนินการตามลำดับการทำงาน มีดังนี้ เครื่องหมาย * / div mod ตามลำดับ เครื่องหมาย + - ตามลำดับ