การสังเคราะห์ (synthesis)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
Advertisements

Bai Chak Group ภูมิใจเสนอ.
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การทำงานเชิงสังเคราะห์
Thesis รุ่น 1.
ผลิตสินค้าและบริการ.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การเขียนรายงานการวิจัย
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
1 การเสนอโครงการภายใต้ กรอบความร่วมมือเอเปค สำนักความร่วมมือการลงทุน ต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน.
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
กลุ่มที่ 1.
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
งานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
กระบวนการวิจัย Process of Research
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การเขียนรายงานผลการวิจัย
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสังเคราะห์ (synthesis) การผสมผสานรวมกันอย่างกลมกลืนของส่วนประกอบต่าง ๆ จนกลายเป็นสิ่งใหม่ที่มีเอกลักษณ์และคุณสมบัติเฉพาะ กระบวนการรวบรวมองค์ประกอบที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นความคิด สิ่งของ ฯลฯ ผสมผสานกลมกลืนเข้าไว้ด้วยกันจนกลายเป็นสิ่งใหม่

ประโยชน์ ช่วยให้สามารถจัดระบบข้อมูลที่กระจัดกระจายและระบบความคิดของเราได้อย่างเหมาะสม ช่วยย่นระยะเวลาในการคิด เป็นสิ่งใหม่ที่เกิดจากการ “ถักทอ” องค์ประกอบย่อยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน สามารถนำมาใช้ได้กว้างขวางทั้งในเรื่องการสังเคราะห์แนวคิด แนวทางการปฏิบัติ เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นอย่างเป็นปกติธรรมชาติในชีวิตประจำวันเป็นเครื่องมือทางความคิดที่สามารถสร้างมุมมองที่มีลักษณะเฉพาะตัว ทำให้สามารถนำเสนอสิ่งต่างๆ ตามต้องการ ยกระดับทางความคิดของเราเป็นผู้เริ่มและนำเสนอสิ่งใหม่ ๆ

วัตถุประสงค์ การคัดเลือกบางส่วนของสิ่งต่าง ๆ มาผสมผสานกันอย่างกลมกลืนจนกลายเป็นสิ่งใหม่ที่มีเอกลักษณ์ อย่างชัดเจน

ลักษณะของการสังเคราะห์ เป็นการถักทอหรือหลอมรวมองค์ประกอบต่างๆ เพื่อให้ได้สิ่งใหม่ภายใต้โครงร่างเดียวกัน เป็นการรวมประเด็นทั้งหมดแล้วเอามาสกัดเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาถักทอหรือรวมกันใหม่ การสังเคราะห์ก่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่มีรูปลักษณะใหม่ คุณสมบัติใหม่แตกต่างไปจากเดิมที่มีอยู่ เป็นเหมือนการทำศักยภาพที่ซ่อนอยู่ให้ปรากฏออกมา เมื่อนำมารวมกับศักยภาพของสิ่งอื่น ๆ การสังเคราะห์ทำให้เกิดสิ่งใหม่ที่ทำหน้าที่อีกหน้าที่หนึ่ง มีคุณสมบัติใหม่ที่เฉพาะเจาะจงและสามารถใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ได้ดีกว่าการหยิบแต่ละสิ่งมาใช้อย่างแยกจากกัน

วิธีการคิดเชิงสังเคราะห์ 1. นำข้อมูลที่มีมาจัดหมวดหมู่5 โดยสกัดเฉพาะประเด็นที่ตอบวัตถุประสงค์ 2. ลำดับความคิดอย่างเป็นระบบและเชื่อมโยงกัน 3. นำองค์ประกอบต่างๆ มารวมกันกลาย เป็นสิ่งใหม่ 4. นำมาใช้สรุปผล / จัดทำรายงาน / กำหนดนโยบาย

ตัวอย่าง อึ่งงิ้ม .....กรัม ผสมผสานกัน บอระเพ็ด ไครเครือ .....กรัม ขมิ้นชัน.....กรัม อึ่งงิ้ม .....กรัม ลูกกระดอม .....กรัม ผสมผสานกัน

ตัวอย่าง การหาข้อสรุปที่กระจัดกระจายเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น การสรุปรายงานวิจัยหัวข้อ “การสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผล ต่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน” นำประเด็นของข้อมูลที่รวบรวมได้มาสังเคราะห์ โดย ขั้นที่ 1 นำมาจัดหมวดหมู่ ขั้นที่ 2 คัดแยกประเด็นที่ซ้ำกันหรือคล้ายกันไว้ด้วยกัน ขั้นที่ 3 นำข้อเสนอต่างๆ มาเชื่อมโยงกัน ขั้นที่ 4 ขมวดใจความให้เหลือเพียงประเด็นเดียวที่ ครอบคลุม ทำเช่นนี้กับทุกๆ ประเด็น ขั้นที่ 5 นำมาจัดระเบียบใหม่ให้เป็นเรื่องใหม่ภายใต้หัวข้อ และเค้าโครงเดียวกัน

ปัจจัยภายในวิสาหกิจชุมชน ขั้นที่ 2 คัดแยกประเด็นที่เหมือนกันไว้ด้วยกัน ตัวอย่าง การสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อ การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพึ่งตนเอง ปัจจัยภายในวิสาหกิจชุมชน จังหวัด เนื้อหา อยุธยา สุพรรณฯ นครนายก ลำพูน บุรีรัมย์ ตรัง ขั้นที่ 2 คัดแยกประเด็นที่เหมือนกันไว้ด้วยกัน ขั้นที่ 1 การมีส่วนร่วมของสมาชิก วางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาด ตัดสินใจในการเลือกชนิดผลิตภัณฑ์ วางแผนการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ใหม่ๆ การผลิตสินค้าตามคำสั่งซื้อของลูกค้า วางแผนการพัฒนาสินค้าใหม่ๆ วางแผนพัฒนาน้ำพริกหลายๆ สูตร การมีส่วนร่วม – ร่วมคิด/ร่วมตัดสินใจ/ร่วมวางแผน/ร่วมปฏิบัติ/ ร่วมรับผิดชอบ ขั้นที่ 3 สมาชิกมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึงบรรจุภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของตลาด และวางแผนการผลิตให้ทันกับคำสั่งซื้อ ขั้นที่ 4 สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินงานผลิตทุกขั้นตอน

ปัจจัยภายในวิสาหกิจชุมชน จังหวัด เนื้อหา อยุธยา สุพรรณฯ นครนายก ลำพูน บุรีรัมย์ ตรัง ขั้นที่ 2 คัดแยกประเด็นที่เหมือนกันไว้ด้วยกัน ขั้นที่ 1 การจัดการความรู้ การศึกษาดูงานในกลุ่มที่ประสบความ สำเร็จ การฝึกอบรมอย่างสม่ำเสมอ การศึกษา ดูงานในกลุ่มที่ประสบความ องค์ประกอบของการจัดการความรู้ – การตั้งเป้าหมาย/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การเก็บสะสมความรู้ ขั้นที่ 3 การจัดการความรู้ของ วสช. ประกอบด้วย การศึกษาดูงานกลุ่มที่ประสบความสำเร็จ การฝึกอบรมอย่างสม่ำเสมอ ขั้นที่ 4 การเรียนรู้จาก วสช. ที่ประสบความสำเร็จและฝึกอบรมอย่าง สม่ำเสมอ

ปัจจัยภายในวิสาหกิจชุมชน จังหวัด เนื้อหา อยุธยา สุพรรณฯ นครนายก ลำพูน บุรีรัมย์ ตรัง ขั้นที่ 2 คัดแยกประเด็นที่เหมือนกันไว้ด้วยกัน ขั้นที่ 1 การบริหารจัดการกลุ่ม ประธานรับฟังความคิดเห็นของสมาชิก ประธานกลุ่มมีการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ การดำเนินงานโปร่งใส/ตรวจ สอบได้ พูดคุยกับสมาชิกอย่างสม่ำเสมอ มีความสามารถประสานงานกับเครือข่ายได้ดี ประธานมีแนวคิดสร้างคนรุ่นใหม่ สืบทอดวสช. องค์ประกอบของการบริหารจัดการกลุ่ม – ผู้นำ / คณะกรรมการ/สมาชิก /โครงสร้าง / กฎระเบียบ /วัฒนธรรมองค์กร ฯลฯ ขั้นที่ 3 ประธานกลุ่มรับฟังความคิดเห็นของสมาชิก มีการเรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ และสร้างคนรุ่นใหม่เข้ามาดำเนินกิจการ วสช. มีการดำเนินงานที่โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ พูดคุยกับสมาชิกอย่างสม่ำเสมอนอกจากนี้มีความสามารถประสานงานกับเครือข่ายได้ดี ขั้นที่ 4 ประธานมีวิสัยทัศน์ มีความสามารถ และมีคุณธรรม

การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ขั้นที่ 5 นำมาจัดระเบียบใหม่ให้เป็นเรื่องใหม่ภายใต้หัวข้อ และเค้าโครงเดียวกัน ประธานมีวิสัยทัศน์ มีความสามารถ และมีคุณธรรม การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน เพื่อการพึ่งตนเอง วสช. เรียนรู้จาก วสช. ที่ประสบความสำเร็จและฝึกอบรมอย่าง สม่ำเสมอ ปัจจัย ภายใน วสช. สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินงานผลิตทุกขั้นตอน

เอกสารอ้างอิง เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2546. การคิดเชิงสังเคราะห์. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย.

ไม่มีอะไรเล็กน้อยเกินไปที่จะรู้ ไม่มีอะไรยิ่งใหญ่เกินไปที่จะพยายาม ขอให้มีความสุขกับการสังเคราะห์งานวิจัย กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทรศัพท์/โทรสาร 02 – 940 -6061 E-mail : research30@doae.go.th