ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
3. ข้อสอบที่ตัวลวงไม่มีประสิทธิภาพ คือ เห็นได้ชัดว่าตัวลวงผิด
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
บทที่ 1 อัตราส่วน.
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
การประมาณค่าทางสถิติ
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การจัดกระทำข้อมูล.
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
4. Research tool and quality testing
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ผลงาน ความรู้ ความคิดของผู้เรียน ทักษะ การปฏิบัติ ของผู้เรียน คุณลักษณะ ค่านิยม คุณธรรม ของผู้เรียน.
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
บทที่ 6 Selection กระบวนการพิจารณาคนจำนวนมากให้ เหลือจำนวนเท่าที่องค์การต้องการ Negative Process.
การแจกแจงปกติ.
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ โดย .. เอ็ดเวิร์ด เดอโบโน
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผ่นพับ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
แก้ไข.
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรทางการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานเทคโนโลยี
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร การวิเคราะห์ข้อสอบ ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร

ค่าความยากง่าย หาได้โดยการหาสัดส่วนหรือจำนวนร้อยละของคนที่ตอบข้อสอบข้อนั้นถูกกับจำนวนคนทั้งหมด เขียนในรูปสูตรได้ ดังนี้ P = จำนวนคนที่ตอบข้อนั้นถูก จำนวนคนที่ตอบข้อนั้นทั้งหมด หรือ P = X 100

ตัวอย่าง ข้อสอบข้อหนึ่งมีคนตอบถูก 40 คน จากคนทั้งหมด 50 คน ตัวอย่าง   ข้อสอบข้อหนึ่งมีคนตอบถูก 40 คน จากคนทั้งหมด 50 คน  40 P = = .80 50 40 P = X 100 = 80% 50

ค่าความยากง่ายของข้อสอบมีลักษณะดังนี้ ค่าความยากง่ายของข้อสอบ (P) จะมีค่าอยู่ระหว่าง .00 ถึง 1.00 ข้อสอบที่มีค่า P มาก ข้อสอบข้อนั้นมีคนตอบถูกมาก แสดงว่าข้อสอบง่าย ข้อสอบที่มีค่า P น้อย ข้อสอบข้อนั้นมีคนตอบถูกน้อย แสดงว่าข้อสอบยาก ข้อสอบที่มีค่า P = .50 เป็นข้อสอบที่มีความยากปานกลาง หรือมีความยากง่ายพอเหมาะ

5.การแปลความหมายค่าความยากง่ายของข้อสอบกรณีตัวถูก มีเกณฑ์ดังนี้ 5.การแปลความหมายค่าความยากง่ายของข้อสอบกรณีตัวถูก มีเกณฑ์ดังนี้   ค่า P .81 - 1.00   หมายความว่า ง่ายมาก ควรตัดทิ้ง     .61 - .80      หมายความว่า ง่ายพอใช้ได้  .51 - .60      หมายความว่า ค่อนข้างง่าย ดี    .50     หมายความว่า ยากง่ายพอเหมาะ ดีมาก    .40 - .49      หมายความว่า ค่อนข้างยาก ดี    .20 - .39      หมายความว่า ยากพอใช้ได้     .00 - .19      หมายความว่า ยากมาก ควรตัดทิ้ง 

ค่าความยากง่ายสำหรับผู้สอบแต่ละกลุ่มจะมีค่าไม่เท่ากัน โดยปกติกลุ่มผู้สอบที่เก่งกว่าจะมีค่าความยากง่ายสูงกว่ากลุ่มอ่อน แต่หากผู้สอบแต่ละกลุ่มมีความสามารถใกล้เคียงกันแล้วก็จะมีผลให้ค่าความยากของข้อสอบใกล้เคียงกัน ค่าความยากง่ายที่เหมาะสมนั้นไม่คงที่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายหรือสถานการณ์ในการสอบ แต่ละครั้ง การพิจารณาค่าความยาก กรณีที่เป็นตัวลวง ตัวลวงที่ดีจะต้องมีคนเลือกตอบบ้างและไม่มากนัก ตัวลวงใดที่ไม่มีผู้ใดเลือกตอบเลย ถือว่าเป็นตัวลวงที่ผิดจนชัดเจนเกินไปไม่ดี ในทางปฏิบัติในแบบทดสอบฉบับหนึ่งจะประกอบด้วยข้อสอบที่ง่ายจำนวนหนึ่ง ข้อสอบที่ยากจำนวนหนึ่ง และข้อสอบที่มีค่าความยากปานกลางเป็นส่วนใหญ่

คำถาม: ข้อดีของสินค้า OTOP คือข้อใด ก. ทุกตำบลต่างผลิตสินค้าของตนออกมาขาย ข. ไม่มีการละเมิดสิทธิของผู้อื่นในการผลิตสินค้า ค. สร้างงานสร้างรายได้ ประเทศไทยเข้มแข็งนำหน้าประเทศอื่น ง. ปรับปรุงเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยให้เกิดสำนึก หันมาซื้อและใช้สินค้าไทยมากขึ้น เฉลย ข้อ ง.

กาเอ๋ยกา บินมา........ ไวไว มาม่า ยำยำ กุ๊งกิ๊ง

สรุป ข้อสอบที่ดีควรมีค่าความยากง่ายตั้งแต่ .20 ขึ้นไป

การหาค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ หมายถึง ความสามารถของข้อสอบแต่ละข้อในการจำแนกคนที่อยู่ในกลุ่มเก่งออกจากคนที่อยู่ในกลุ่มอ่อนได้ ข้อสอบข้อใดมีอำนาจจำแนกดี คนเก่งจะตอบถูก คนอ่อนจะตอบผิด สัญญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าอำนาจจำแนกคือ " r " ซึ่งหาได้จากสูตร r = จำนวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มเก่ง จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มเก่ง __ จำนวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มอ่อน จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มอ่อน

ตัวอย่าง     ถ้าแยกคนสอบออกเป็นกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อนกลุ่มละ 40 คน ข้อสอบข้อหนึ่งมีคนตอบถูกในกลุ่มเก่ง 30 คน ในกลุ่มอ่อน 10 คน จะมีค่าอำนาจจำแนก ดังนี้  ค่าอำนาจจำแนกมีค่าเท่ากับ .50

ค่าอำนาจจำแนกจะมีลักษณะดังนี้ ค่าอำนาจจำแนกจะมีลักษณะดังนี้  ค่าอำนาจจำแนก (r) จะมีค่าตั้งแต่ -1.00 ถึง +1.00 ข้อสอบข้อใดที่จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มเก่งมากกว่าจำนวนคนตอบถูกในกลุ่มอ่อน ค่า r จะเป็นบวก ข้อสอบข้อใดจำนวนคนตอบถูกในกลุ่มเก่งน้อยกว่าจำนวนคนตอบถูกในกลุ่มอ่อน ค่า r ติดลบ เป็นข้อสอบที่ใช้ไม่ได้ ข้อสอบข้อใดจำนวนคนตอบถูกในกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อนเท่ากัน ค่า r จะเป็น .00

5.การแปลความหมายค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบกรณีตัวถูก มีเกณฑ์ดังนี้ ค่า r .40 ขึ้นไป หมายความว่า จำแนกได้ดีมาก .30 - .39 หมายความว่า จำแนกพอใช้ แต่ควรปรับปรุง .20 - .29 หมายความว่า จำแนกได้น้อย ควรปรับปรุงอีกครั้งหนึ่ง .19 ลงมา หมายความว่า จำแนกไม่ดี ไม่ควรใช้

ค่าอำนาจจำแนกสำหรับตัวถูกควรมีค่าตั้งแต่ +.20 ขึ้นไป การพิจารณาค่าอำนาจจำแนกของตัวลวง ตัวลวงที่ดีนั้นจะต้องมีคนอ่อน เลือกตอบมากกว่าคนเก่งเสมอ ตัวลวงตัวใดที่คนเก่งเลือกตอบเป็นจำนวน มากกว่าคนอ่อนแสดงว่าเป็นตัวลวงที่ไม่ดี

คุณลักษณะของเครื่องมือที่ดี 1. ความเชื่อมั่นหรือความเชื่อถือได้ Reliability 2. ความเที่ยงตรงหรือความแม่นตรง Validity 3. ความยากหรือง่ายพอเหมาะ Difficulty 4. อำนาจจำแนก Discrimination 5. ความเป็นปรนัย Objectivity 6. ความยุติธรรม Fairness 7. ถามลึก Searching 8. จำเพาะเจาะจง Definite 9. ยั่วยุ Exemplary 10. ประสิทธิภาพ Efficiency