บ้านและทะเบียนบ้าน
กรณีที่กฎหมายกำหนดให้ต้องแจ้ง เมื่อมีการปลูกสร้างบ้าน เมื่อมีการรื้อถอนบ้าน
การแจ้งเกี่ยวกับบ้าน ๑. ผู้มีหน้าที่แจ้ง ๒ การแจ้งเกี่ยวกับบ้าน ๑. ผู้มีหน้าที่แจ้ง ๒. ระยะเวลาที่ กฎหมายกำหนดให้แจ้ง ๓. แจ้งที่ไหน
การแจ้งเกี่ยวกับบ้าน เมื่อมีการปลูกสร้างบ้านจะต้องแจ้งขอเลขที่บ้านภายใน 15 วัน นับแต่วันที่สร้างบ้านเสร็จ
การไม่แจ้งขอเลขที่บ้านภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ปลูกสร้างบ้านเสร็จ เป็นความผิดมีโทษปรับ ไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท
ผู้มีหน้าที่แจ้ง ได้แก่ เจ้าบ้าน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน เจ้าบ้าน หมายความว่าผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครองบ้าน ในฐานะเป็นเจ้าของ ผู้เช่า หรือในฐานะอื่นใด
สถานที่แจ้ง กรณีบ้านปลูกอยู่ในเขตเทศบาลให้แจ้งที่สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลที่บ้านตั้งอยู่ในเขตพื้นที่
สถานที่แจ้ง (ต่อ) กรณีบ้านปลูกอยู่นอกเขตเทศบาล แจ้งต่อผู้ใหญ่บ้าน เพื่อขอให้ออกใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน (ท.ร.9) แจ้งที่สำนักทะเบียนอำเภอที่บ้านตั้งอยู่ในเขตพื้นที่
หลักฐานที่ต้องนำไปแสดง บัตรฯ ผู้แจ้ง หลักฐานการอนุญาตปลูกสร้างบ้าน ตาม พ.ร.บ. ควบคุมการก่อสร้างอาคาร (ถ้ามี) ใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน (ท.ร.9) ที่ได้แจ้งไว้กับผู้ใหญ่บ้าน (ถ้ามี)
บ้านที่ปลูกสร้างโดยการบุกรุกที่สาธารณะ หรือปลูกในพื้นที่ป่าสงวน หรือไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร เมื่อแจ้งขอเลขที่บ้าน นายทะเบียนจะกำหนดเลขที่บ้านและจัดทำทะเบียนบ้านชั่วคราวให้
การรื้อถอนบ้าน รื้อบ้านโดยไม่ปลูกใหม่ที่เดิม ต้องแจ้งรื้อถอน ภายใน 15 วัน นับแต่วันรื้อบ้านเสร็จ
การไม่แจ้งรื้อถอนบ้านภายใน 15 วันนับแต่วันที่รื้อบ้านเสร็จ เป็นความผิดมีโทษปรับ ไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท
ได้แก่ เจ้าบ้าน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน ผู้มีหน้าที่แจ้ง ได้แก่ เจ้าบ้าน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน
สถานที่แจ้ง สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่บ้านรื้อถอนอยู่ในเขตพื้นที่
หลักฐานที่ต้องนำไปแสดง บัตรฯ ผู้แจ้ง สำเนาทะเบียนบ้าน ของบ้านที่มีการรื้อถอน ใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน (ท.ร.9) ที่ได้แจ้งไว้กับผู้ใหญ่บ้าน (ถ้ามี)
ทะเบียนบ้าน มี 2 ประเภท ทะเบียนบ้าน (ท. ร ทะเบียนบ้าน มี 2 ประเภท ทะเบียนบ้าน (ท.ร.14) เล่มสีน้ำเงิน ใช้สำหรับคนสัญชาติไทย และ คนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว ทะเบียนบ้าน (ท.ร.13) เล่มสีเหลือง ใช้สำหรับคนไม่มีสัญชาติไทย ที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราว หรือที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ในไทยเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายตามที่ รมต.ประกาศกำหนด
รีแลกซ์
การย้ายที่อยู่
๑. ประเภทของการแจ้งย้าย การแจ้งย้ายที่อยู่ ๑. ประเภทของการแจ้งย้าย ๒. ผู้มีหน้าที่แจ้ง ๓. ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้แจ้ง ๔. แจ้งที่ไหน
๑. แจ้งย้ายออก แจ้งย้ายเข้า ๒. แจ้งย้ายที่อยู่ปลายทาง ประเภทของการแจ้งย้ายที่อยู่ ๑. แจ้งย้ายออก แจ้งย้ายเข้า ๒. แจ้งย้ายที่อยู่ปลายทาง ๓. แจ้งย้ายที่อยู่ของคนที่ไปต่างประเทศ ๔. แจ้งย้ายที่อยู่ของคนที่ออกจากบ้านไปนานและไม่รู้ว่าอยู่ที่ใด
ผู้มีหน้าที่แจ้ง แจ้งย้ายออก เจ้าบ้านของบ้านที่มีคนย้ายออก แจ้งย้ายออก เจ้าบ้านของบ้านที่มีคนย้ายออก แจ้งย้ายเข้า เจ้าบ้านของบ้านที่มีคนย้ายเข้า แจ้งย้ายปลายทาง ผู้ย้ายที่อยู่ แจ้งย้ายคนที่ไปต่างประเทศ เจ้าบ้านของบ้านที่มี คนไปอยู่ต่างประเทศ แจ้งย้ายไม่ทราบที่ที่อยู่ เจ้าบ้านของบ้านที่คน ออกไปจากบ้านมีชื่ออยู่
จะต้องมีการย้ายที่อยู่ทางกายภาพ เกิดขึ้นก่อน แล้วจึงจะไปแจ้งการย้าย หลักในการแจ้งย้ายที่อยู่ของผู้มีหน้าที่แจ้ง จะต้องมีการย้ายที่อยู่ทางกายภาพ เกิดขึ้นก่อน แล้วจึงจะไปแจ้งการย้าย ต่อนายทะเบียนได้
ระยะเวลาแจ้งการย้าย (ภายใน ๑๕ วัน) แจ้งย้ายออก นับแต่วันที่ย้ายออกจากบ้าน แจ้งย้ายเข้า นับแต่วันที่ผู้นั้นเข้าอยู่ในบ้าน แจ้งย้ายไม่ทราบที่ที่อยู่ ภายใน ๓๐ วันนันแต่ วันที่ออกจากบ้านไป ครบ ๑๘๐ วัน
นับแต่วันที่มีคนย้ายออกจากบ้าน และ การไม่แจ้งย้ายเข้าภายใน ๑๕ วัน การไม่แจ้งย้ายออกภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่มีคนย้ายออกจากบ้าน และ การไม่แจ้งย้ายเข้าภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่มีคนเข้ามาอาศัยอยู่ในบ้าน เป็นความผิดมีโทษปรับไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท
สถานที่แจ้ง แจ้งย้ายออก สนท.แห่งที่คนย้ายออกมีชื่อในทะเบียนบ้าน แจ้งย้ายออก สนท.แห่งที่คนย้ายออกมีชื่อในทะเบียนบ้าน แจ้งย้ายเข้า สนท.แห่งท้องที่ที่เป็นที่ตั้งของบ้านที่ย้ายเข้า แจ้งย้ายปลายทาง สนท.แห่งท้องที่ที่เป็นที่ตั้งของบ้าน ที่ย้ายเข้าไปอยู่ใหม่ แจ้งย้ายคนที่ไปต่างประเทศ สนท.แห่งท้องที่ที่เป็นที่ตั้งของ บ้านที่มีคนไปอยู่ต่างประเทศ แจ้งย้ายไม่ทราบที่ที่อยู่ เจ้าสนท.แห่งท้องที่ที่เป็นที่ตั้งของ บ้านที่คนซึ่งออกไปจากบ้านนาน แล้วมีชื่ออยู่
ขอบคุณ
สวัสดี