การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง
เป็นการผลิตเชื้อก้อนสดด้วยข้าวเปลือก ระบบเปิด เรียกว่าใช้เทคนิคปลอดเชื้อโดยไม่ใช้ตู้เขี่ยเชื้อ การเขี่ยเชื้อสามารถทำในห้องธรรมดาที่ลมสงบและทำความสะอาดพื้นโดยฆ่าเชื้อด้วยแอลกอฮอล์ 75% หรือถ้าเป็นห้องที่ใช้เขี่ยเชื้อโดยเฉพาะก็สามารถที่ฟูมห้องได้
อุปกรณ์ 1. ตะเกียงแอลกอฮอล์ 2. เข็มเขี่ยเชื้อ 3. แอลกอฮอล์ 75% 4. แอลกอฮอล์ 95% 5. กระบอกฉีดน้ำ
อุปกรณ์ 6. หัวเชื้อราบิวเวอร์เรีย(ที่ผลิตจากข้าวฟ่าง) 7. ถุงพลาสติกทนร้อน ขนาด 9×14 นิ้ว
อุปกรณ์ 8. ยางวงเส้นเล็ก 9. เข็มฉีดยาเบอร์ 22 10. เมล็ดข้าวเปลือกใหม่หรือเก่าก็ได้ 11. หม้ออลูมิเนียมชนิดมีหูพร้อมไม้ขัดหม้อ
วิธีการ 1. นำข้าวเปลือกล้างน้ำให้สะอาด หุงด้วยเตาแก๊สหรือเตาถ่านก็ได้ หุงจนเมล็ดข้าวเปลือกสุกเมล็ดแตก (ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง) แล้วเช็ดน้ำจนสะเด็ดแล้วนำมาดงอีกครั้ง 2. ใช้แอลกอฮอล์ 75% ใส่กระบอกฉีดน้ำสำหรับใช้ฉีดพ่นทำความสะอาดมือ และบริเวณพื้นที่จะวางถุงข้าวผลิตเชื้อรา 3. ตักข้าวขณะร้อนใส่ถุงๆละ 500 กรัม พับปากถุงวางเรียงทิ้งไว้ให้ข้าวอุ่น จึงนำมาเขี่ยเชื้อ 4. นำเข็มเขี่ยเชื้อมาเผาฆ่าเชื้อจนปลายเข็มร้อนแดง แล้ววางไว้ให้เย็น
วิธีการ
5. นำขวดหัวเชื้อราบิวเวอร์เรียที่จะเขี่ยมาทำให้แตกเป็นเม็ด โดยใช้เข็มเขี่ยเชื้อ เขี่ยให้แตกจากกัน การเปิดและปิดฝาขวดหัวเชื้อทุกครั้งต้องมีการลนปากขวดฆ่าเชื้อด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์ทุกครั้ง (ใช้แอลกอฮอล์ 90% สำหรับใส่ตะเกียง) 6. เมื่อข้าวในถุงเย็นตัวลงอุ่นๆ ก็ทำการเทหัวเชื้อราบิวเวอร์เรียที่เตรียมไว้ ประมาณ 10-15 เมล็ด/ถุง เมื่อเทหัวเชื้อแล้วรัดด้วยยาง วงให้แน่น
วิธีการ
วิธีการ
ใช้เวลา 8 วัน ในการให้เชื้อเดินเต็มถุงและนำไปใช้ได้ 7. เขย่าถุงที่เทหัวเชื้อแล้วให้เข้ากันแล้วเจาะรูใต้ยางรัดปากถุง ด้วยเข็มฉีดยาเบอร์ 22 โดยเจาะถุงละประมาณ 30 ครั้ง โดยเจาะทะลุทั้งสองด้าน 8. นำถุงเชื้อราที่เขี่ยเชื้อเรียบร้อยแล้วมาวาง โดยดึงส่วนบนให้มีช่องอากาศภายในถุงมากๆ พื้นที่วางต้องอยู่ในร่มมีแสงสว่าง แต่ต้องไม่โดนแสงแดดและมีการระบายอากาศได้ดี ใช้เวลา 8 วัน ในการให้เชื้อเดินเต็มถุงและนำไปใช้ได้
ลักษณะตัวเต็มวัยเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลถูกเชื้อราบิวเวอร์เรียทำลาย
ลักษณะตัวเต็มวัยเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลถูกเชื้อราบิวเวอร์เรียทำลาย
ลักษณะเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตายด้วยเชื้อราเมตตาไรเซียม ลักษณะเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตายด้วยเชื้อราบิวเวอร์เรีย ลักษณะเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตายด้วยเชื้อราเมตตาไรเซียม
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจะอยู่ส่วนโคนของต้นข้าวเหนือผิวน้ำ
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจะอยู่ส่วนโคนของต้นข้าว
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจะอยู่ส่วนโคนของต้นข้าวศัตรูธรรมชาติจะอยู่ส่วนบนหรือยอดข้าว มวนเขียวดูดไข่
ปริมาณมวนเขียวดูดไข่ในระบบนิเวศที่ไม่มีการใช้สารเคมี
มวนเขียวดูดไข่ มวนดูดไข่
เกษตรกรไม่ชอบลงนา
ของชอบของเกษตรกร
ชนะเพลี้ยกระโดดได้ด้วยสมุนไพรและชีวภัณฑ์ สวัสดี