การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย Check Digit

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการสมัครสมาชิก UNOVUS
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
การปรับปรุงหนี้เงินยืมทดรอง
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
ขั้นตอนการกรอก เอกสารกรมศุลกากร
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
LAB # 3 Computer Programming 1
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Algorithms.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
Introduction to Digital System
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
ข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ
4. การจัดทำและการส่งเอกสารสัญญาเงินกู้
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
การลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
วิชา การบริหารระบบข้อมูลสำหรับโลจิสติกส์
4. การจัดทำและการส่งเอกสารสัญญาเงินกู้
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
เทคนิคการตั้งคำถามที่ดี (Using Effective Question Techniques)
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
การสั่งซื้อสินค้า ทางอินเตอร์เน็ต
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การบวกเลขไม่เกิน 2 หลัก
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
ระบบการเรียกเก็บหนี้
การประชุมซักซ้อมการปฏิบัติงาน การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส. ก
การตรวจสอบและปรับปรุงรายการบัญชี
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย Check Digit

การตรวจสอบข้อมูล ทำไมจึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูล ? Check Digit การตรวจสอบข้อมูล ทำไมจึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูล ? การบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ลงไปในระบบคอมพิวเตอร์ที่กระทำโดยมนุษย์ อาจจะมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ (human error) การตรวจสอบความถูกต้องโดยอาศัยข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องใช้เวลาในการเข้าถึงและสิ้นเปลืองทรัพยากรเป็นอย่างมาก

Check Digit การตรวจสอบข้อมูล ข้อมูลที่เป็นรหัสตัวเลขที่ออกให้โดยหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหมายเลขบัตรประชาชน หมายเลขบัญชีธนาคาร หมายเลข ISBN หรือ รหัสสินค้าที่เป็นรหัสบาร์โค้ด (EAN13) จะมีหมายเลขที่เป็นตัวที่ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของชุดตัวเลขทั้งหมดว่าถูกต้องหรือไม่

Check Digit การตรวจสอบข้อมูล การตั้งรหัสต่างๆ เช่น รหัสบัตรเครดิต, รหัสสมุดเงินฝากธนาคาร, หมายเลข ISBN , เลขที่บัตรประจำตัวประชาชน เป็นต้น รหัสเหล่านี้จะมีการตรวจสอบข้อมูลโดยใช้ Check Digit MODULUS 10 MODULUS 11

Check Digit MODULUS 10 กำหนดน้ำหนักให้หลักแต่ละหลักของตัวเลขที่ตั้งขึ้นมา โดย ตำแหน่งเลขคี่ ให้ค่าเป็น 2 ตำแหน่งเลขคู่ ให้ค่าเป็น 1 นำตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1 ถ้ามีค่ามากกว่า 9 ให้นำหลักหน่วยกับสิบ บวกกันก่อน (เช่น คูณกันแล้วได้ 18 ก็นำ 1 + 8 ค่าที่ได้คือ 9) บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน นำค่าที่ได้ หารด้วย 10 เหลือเศษเท่าไหร่ นำเศษนั้นไปลบออกจาก 10 อีกครั้ง ผลลัพธ์ที่ได้คือ check digit ให้นำไปใส่ต่อท้ายชุดของตัวเลขนั้น

MODULUS 10 เช่น จงหา Check Digit ของรหัส 96438 Code 9 6 4 3 8 ให้น้ำหนัก 2 1 2 1 2 นำมาคูณกัน 18 6 8 3 16 (1+6=7) ผลที่ได้นำไปบวก 1+8+6+8+3+7 = 33 นำไปหารด้วย 10 เหลือเศษ = 3 เอา 10 ตั้งแล้วลบด้วยเศษที่เหลือ 10 - 3 = 7 จะได้รหัสใหม่เป็น 964387

MODULUS 10 ตัวอย่าง รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 10 ได้แก่ Check Digit MODULUS 10 ตัวอย่าง รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 10 ได้แก่ หมายเลขบัตรเครดิต เลขสมุดบัญชีธนาคาร เลขบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร

Check Digit MODULUS 11 กำหนดน้ำหนักโดยเริ่มจากหลักหน่วย โดยหลักหน่วยให้ค่าเริ่มต้นเป็น 2 ในหลักถัดไปก็บวก เพิ่มทีละ 1 นำตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1 บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน นำค่าที่ได้ หารด้วย 11 เหลือเศษ ให้นำเศษนั้นไปลบออกจาก 11 ถ้าลบแล้วมีค่าเป็น 10 นำ 0 ไปเป็น check digit ถ้ามีค่าเป็น 11 นำ 1 ไปเป็น check digit ถ้าต่างจากนี้นำค่านั้นไปเป็น check digit

MODULUS 11 เช่น จงหา Check Digit ของรหัส 347388 Code 3 4 7 3 8 8 ให้น้ำหนัก 7 6 5 4 3 2 นำมาคูณกัน 21 24 35 12 24 16 ผลที่ได้นำไปบวก 21+24+35+12+24 = 132 นำไปหารด้วย 11 เหลือเศษ = 0 เอา 11 ตั้งแล้วลบด้วยเศษที่เหลือ 11 - 0 = 11 ถ้าได้ 11 ค่า check digit จะเป็น 1 จะได้รหัสใหม่เป็น 3473881

MODULUS 11 รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 11 เช่น หมายเลข ISBN Check Digit MODULUS 11 รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 11 เช่น หมายเลข ISBN เลขประจำตัวประชาชน

International Article Numbering Association (EAN) in Europe Check Digit EAN13 International Article Numbering Association (EAN) in Europe กำหนดน้ำหนักโดยเริ่มจากตำแหน่งแรกเป็น 1 ตำแหน่งถัดมาเป็น 3 แล้วตำหน่งถัดไปก็ย้อนเป็น 1 และ 3 ไปเรื่อยๆนำ ตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1 บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน นำค่าที่ได้ หารด้วย 10 เหลือเศษ ให้นำเศษนั้นไปลบออกจาก 10 นำค่านั้นไปเป็น check digit

ให้นิสิตเขียนคลาสสำหรับ Check digit Modulus 10 Modulus 11 Conclusions ให้นิสิตเขียนคลาสสำหรับ Check digit Modulus 10 Modulus 11