สภาพปัญหาการทำวิจัยในชั้น เรียนของครูผู้สอน วิทยาลัย อาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระ อุปถัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
โดย ผู้วิจัย นางพรศิริ อูปคำ สังกัด โรงเรียนลำปางพาณิชยการและเทคโนโลยี
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
สาขา การบริหารการศึกษา
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
โดย นายกิตติภูมิ พานทอง
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ผู้วิจัย นายไพบูลย์ ว่องวารี
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
พฤติกรรม : กรณีห่างไกลสิ่งเสพติดของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นางพัษนีย์ อิมะนันทน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โดย นางสาวพอใจ สาธุการ
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการหาดใหญ่
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
Eastern College of Technology (E.TECH)
ความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักศึกษาฝึกงาน ปวส.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก.
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สภาพปัญหาการทำวิจัยในชั้น เรียนของครูผู้สอน วิทยาลัย อาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระ อุปถัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน

ที่มาและความสำคัญของ ปัญหา ความจำเป็นในการพัฒนาตนเองด้านการวิจัย ของครู การสนับสนุนของสมาคมฯ และวิทยาลัยฯ การประกวดงานวิจัยของสมาคม 2 ครั้ง มี จำนวนครูที่มีผลงานผ่านการพิจารณาสูงขึ้น ( ครั้งที่ 5 = 21; ครั้งที่ 6 = 47) ส่วนมากเป็นครูกลุ่มเดิม อยากทราบว่าอะไรคือปัญหาของครูที่ไม่เคย มีผลงานผ่านการพิจารณา

วัตถุประสงค์การวิจัย ศึกษาและเปรียบเทียบสภาพปัญหา การทำวิจัยชั้นเรียนตามตัวแปรต้น ซึ่ง ประกอบด้วย เพศ ระดับการศึกษา กลุ่มวิชา ประสบการณ์การทำงาน จำนวนครั้งที่เคยนำเสนองานวิจัย ระดับชาติ

กรอบแนวคิด ตัวแปรต้น o เพศ o ระดับการศึกษา o กลุ่มวิชา o ประสบการณ์ สอน o จำนวนครั้งที่ นำเสนอ ระดับชาติ ปัจจัยสนับสนุนทำวิจัย o ความรู้ด้านการวิจัย o คุณลักษณะนักวิจัย o การส่งเสริมจาก หน่วยงาน ปัญหาใน การทำ วิจัย t-test F- test

สมมติฐานการวิจัย ครูที่มี เพศ ระดับการศึกษา กลุ่มวิชาที่สังกัด ประสบการณ์ และจำนวนครั้งที่เคยนำเสนอ งานวิจัยระดับชาติ แตกต่างกัน จะมีปัญหาใน การทำวิจัยแตกต่างกัน

ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร : ครูในวิทยาลัยฯ ปีการศึกษา 2556 จำนวน 85 คน แบบสอบถาม : Rating scale 5 ระดับ 3 ด้าน ด้านความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียน จำนวน 7 ข้อ ด้านคุณสมบัตินักวิจัย จำนวน 5 ข้อ ด้านการส่งเสริมของวิทยาลัยฯ จำนวน 5 ข้อ การแปลผล : ค่าเฉลี่ยความหมาย มีผลกระทบต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน ระดับน้อยที่สุด มีผลกระทบต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน ระดับน้อย มีผลกระทบต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน ระดับปานกลาง มีผลกระทบต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน ระดับมาก มีผลกระทบต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน ระดับมากที่สุด

สถิติที่ใช้ Percent Mean Standard Deviation Independent Sample t-test One way Anova Schefee’

ผลการวิจัย ปัจจัยที่มีผลต่อการทำวิจัย MeanS.D. แปลผล ด้านความรู้ในการทำวิจัย ปานกลาง ด้านคุณสมบัตินักวิจัย ปานกลาง ด้านการส่งเสริมจากวิทยาลัย มาก

ผลการวิจัย เพศ ปัจจัยที่เป็นปัญหาต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน (n=78) ด้านความรู้ด้านคุณสมบัติ นักวิจัย ด้านการส่งเสริม จากวิทยาลัย MeanS.D. แปลผล MeanS.D. แปลผล MeanS.D. แปลผล ชาย ปาน กลาง ปาน กลาง มาก หญิ ง ปาน กลาง ปาน กลาง มาก Sig

ผลการวิจัย การ ศึกษ า ปัจจัยที่เป็นปัญหาต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน (n=78) ด้านความรู้ด้านคุณสมบัติ นักวิจัย ด้านการส่งเสริม จากวิทยาลัย MeanS.D. แปลผล MeanS.D. แปลผล MeanS.D. แปลผล ป. ตรี ปาน กลาง ปาน กลาง มาก ป. โท ปาน กลาง ปาน กลาง มาก Sig.027*

ผลการวิจัย กลุ่ม วิชา ปัจจัยที่เป็นปัญหาต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน (n=78) ด้านความรู้ด้านคุณสมบัตินักวิจัยด้านการส่งเสริมจาก วิทยาลัย MeanS.D. แปลผล MeanS.D. แปลผล MeanS.D. แปลผล บัญชี ปาน กลาง ปาน กลาง ปาน กลาง คอมฯ ปาน กลาง ปาน กลาง มาก ตลาด ปาน กลาง ปาน กลาง มาก พื้นฐา น ปาน กลาง ปาน กลาง ปาน กลาง โรงแร ม ปาน กลาง ปาน กลาง มาก ภาษา ฯ ปาน กลาง ปาน กลาง ปาน กลาง Sig

ผลการวิจัย อายุ งาน ( ปี ) ปัจจัยที่เป็นปัญหาต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน (n=78) ด้านความรู้ด้านคุณสมบัตินักวิจัยด้านการส่งเสริมจาก วิทยาลัย MeanS.D. แปล ผล MeanS.D. แปล ผล MeanS.D. แปล ผล ปาน กลาง ปาน กลาง มาก ปาน กลาง ปาน กลาง มาก ปาน กลาง ปาน กลาง มาก ปาน กลาง ปาน กลาง มาก > 20 ปี ปาน กลาง ปาน กลาง ปาน กลาง Sig

ผลการวิจัย จำนวนครั้ง ในการ นำเสนอ ปัจจัยที่เป็นปัญหาต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน (n=78) ด้านความรู้ด้านคุณสมบัตินักวิจัยด้านการส่งเสริมจากวิทยาลัย MeanS.D. แปลผล MeanS.D. แปล ผล MeanS.D. แปลผล ไม่เคย ปาน กลาง ปาน กลาง มาก 1 ครั้ง ปาน กลาง ปาน กลาง มาก 2 ครั้ง ปาน กลาง ปาน กลาง ปานกลาง Sig..003*

ผลการวิจัย ไม่เคย 1 ครั้ง 2 ครั้ง Mean ไม่เคย ครั้ง * 2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ หรือการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้สอนอย่าง ต่อเนื่อง โดยให้ผู้สอนที่มีวุฒิการศึกษา ระดับปริญญาโท เป็นพี่เลี้ยงในการทำวิจัย เนื่องจากมีประสบการณ์ในการทำวิจัย มากกว่า และจะต้องมุ่งเน้นไปที่ครูที่มีอายุ การทำงานมากกว่า 20 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มที่ไม่ คุ้นเคยกับการทำวิจัยและการใช้เทคโนโลยี การค้นหาข้อมูลและพิมพ์รายงาน

ข้อเสนอแนะ ส่งเสริมและสนับให้ครูผู้สอนทุกคนได้มี โอกาสเข้าร่วมฟังการนำเสนองานวิชา ระดับชาติที่จัดโดยสถาบันการศึกษาต่าง ๆ อย่างน้อยปีละ 1 รายการ วิทยาลัยฯ โดย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องสืบค้น และ ประชาสัมพันธ์ให้ครูผู้สอนทราบถึง กำหนดการประชุมวิชาการระดับชาติของ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ รวมทั้งต้องจัดสรร งบประมาณในการลงทะเบียนเข้าประชุมให้ ครูผู้สอนด้วย

ข้อเสนอแนะ ประเมินผลการปฏิบัติงานของครูผู้สอน โดย พิจารณาจากผลงานการวิจัยของครูผู้สอนที่ ได้รับการพิจารณาให้นำเสนอในที่ประชุม วิชาการระดับชาติเวทีต่าง ๆ อย่างเป็น รูปธรรม

ขอบคุณครับ