JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาระงาน กระบวนการ แหล่งข้อมูล ประเมินผล สรุป
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Chromosome ชีววิทยา ม. 4.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
Introduction to Enzymes
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
หินแปร (Metamorphic rocks)
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
โครโมโซม.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
BIOL OGY.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Amino Acids and Proteins
Amino Acids and Proteins
Protein.
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
whey เวย์ : casein เคซีน
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
การจำแนกประเภทของสาร
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การเจริญเติบโตของพืช
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
ใบสำเนางานนำเสนอ:

JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school Protein JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school

โปรตีน(Protein) โปรตีนเป็นสารชีวโมเลกุล(Biomolecules) ซึ่งเป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่ เกิดจากโมเลกุลเล็กๆหลายๆโมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน โมเลกุลเล็กของโปรตีนเรียกว่า กรดอะมิโน(Amino acid) - โปรตีนเป็นสารที่พบมมากที่สุดในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไปในเซลล์พืชและสัตว์มีโปรตีนอยู่มากกว่าร้อยละ50ของน้ำหนักแห้ง - ธาตุองค์ประกอบที่สำคัญคือ C, H, O และ N

กรดอะมิโน(Amino acid)

โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน

โปรตีน(Protein) กรดอะมิโนเป็นสารที่มีสมบัติเป็นได้ทั้งกรดและเบส ถ้าโมเลกุลอยู่ใน pH ที่เหมาะสมจะแสดงสภาพเป็นทั้งไอออนบวกและไอออนลบในโมเลกุลเดียวกัน เรียกว่า Zwitterion

พันธะเพปไทด์(Peptide bond)

พันธะเพปไทด์(Peptide bond)

พันธะเพปไทด์(Peptide bond)

จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโน Dipeptide 2 Tripeptide 3 Tetrapeptide 4 โมเลกุลเพปไทด์ โมเลกุลเพปไทด์ จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโน Dipeptide 2 Tripeptide 3 Tetrapeptide 4 Polypeptide 5 – 35 Protein คือ Polypeptide ที่มีมวลโมเลกุลมากกว่า 5000

โมเลกุลเพปไทด์

การเขียนลำดับของกรดอะมิโน Tyrosine(Tyr) Histidine(His) Cysteine(Cys) Tyr His Cys Tyr-His-Cys Tyr-Cys-His His-Tyr-Cys His-Cys-Tyr Cys-Tyr-His Cys-His-Tyr

Tyrosine – Histidine – Cysteine Tyrosylhistidylcysteine การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์ ให้เรียกชื่อกรดอะมิโนลำดับแรก...และลำดับถัดมา โดยเปลี่ยนคำลงท้ายจาก -อีน(-ine) เป็น-อิล(-yl) แล้วต่อด้วยชื่อกรดอะมิโนลำดับสุดท้าย..........ดังตัวอย่าง Tyrosine – Histidine – Cysteine Tyr – His – Cys Tyrosylhistidylcysteine

การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์

โครงสร้างของโปรตีน โครงสร้างปฐมภูมิ โครงสร้างทุติยภูมิ (primary structure) โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure) โครงสร้างจตุรภูมิ (quarternary structure) โครงสร้างตติยภูมิ (tertiary structure)

โครงสร้างของโปรตีน

- เป็นโครงสร้างที่แสดงลำดับกรดอะมิโนในสายเพปไทด์หรือในโมเลกุลโปรตีน โครงสร้างปฐมภูมิ - เป็นโครงสร้างที่แสดงลำดับกรดอะมิโนในสายเพปไทด์หรือในโมเลกุลโปรตีน

โครงสร้างทุติยภูมิ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ และเกิดการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O….N-H เกิดโครงสร้างแบบ -helix และ -plated sheet

โครงสร้างทุติยภูมิ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ และเกิดการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O….N-H เกิดโครงสร้างแบบ -helix และ -plated sheet

โครงสร้างตติยภูมิ - เป็นโครงสร้างที่เกลียวแอลฟาและบริเวณที่ไม่ใช่เกลียวแอลฟาม้วนเข้าหากันและไขว้กันโดยมีแรงยึดเหนี่ยวอ่อนๆ

โครงสร้างจตุรภูมิ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการรวมตัวของหน่วยย่อยชนิดเดียวหรือต่างชนิดกันของโครงสร้างตติยภูมิ อาจจะมีการรวมกันเป็นลักษณะก้อนกลมหรือเป็นมัดคล้ายเส้นใย

ประเภทของโปรตีน โปรตีนเส้นใย(fibrous protein) โปรตีนก้อนกลม(globular protein) (การจัดตัวในโครงสร้าง 3 มิติ)

โปรตีนเส้นใย ประเภทของโปรตีน โปรตีนก้อนกลม เกิดจากสายพอลิเพปไทด์รวมตัวม้วนพับพันกันและอัดแน่นเป็นก้อนกลม ละลายน้ำได้ดี ทำหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ โปรตีนเส้นใย เกิดจากสายพอลิเพปไทด์พันกันในลักษณะเหมือนเส้นใยยาวๆ ละลายน้ำได้น้อย ทำหน้าที่เป็นโปรตีนโครงสร้าง มีความแข็งแรงและยืดหยุ่นสูง

ตัวอย่างโปรตีนเส้นใย Keratin Silk

ตัวอย่างโปรตีนเส้นใย Casein Albumin Enzyme

ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตีน หน้าที่ ตัวอย่าง โปรตีนเร่งปฏิกิริยา เร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต เอ็นไซม์ โปรตีนขนส่ง ขนส่งสารไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ฮีโมโกลบิน โปรตีนโครงสร้าง ให้ความแข็งแรงและช่วยคงรูปร่างโครงสร้างต่าง ๆของร่างการ คอลลาเจน เคราติน โปรตีนสะสม สะสมธาตุต่าง ๆ เฟอริทิน

ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตีน หน้าที่ ตัวอย่าง โปรตีนป้องกัน ป้องกันและกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในเซลล์ แอนติบอดี โปรตีนฮอร์โมน แตกต่างกันตามชนิดของฮอร์โมนนั้นๆ ควบคุมการเจริญเติบโต ควบคุมการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต Growth hormone Insulin

ปัจจัยที่มีผลต่อการแปรสภาพของโปรตีน ความร้อนและรังสีอัลตราไวโอเลต ตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น เอทานอล แอซิโตน ความเป็นกรด หรือเป็นเบส การฉายรังสีเอกซ์(X – ray) การเขย่าหรือเหวี่ยงแรงๆ ทำให้ตกตะกอน

การทดสอบไบยูเรต(Biuret test) การทดสอบไบยูเรต เป็นปฏิกิริยาเฉพาะที่ให้ผลกับสารที่มีพันธะเพปไทด์ตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป ให้สารสีน้ำเงินม่วง ซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนของCu2+ กับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของไนโตรเจนในพันธะเพปไทด์และน้ำ

เอ็นไซม์(Enzyme) เอ็นไซม์ เป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต

ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ ชนิดของสารตั้งต้น ความเข้มข้นของสารตั้งต้น ความเข้มข้นของเอนไซม์ ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย อุณหภูมิ สารยับยั้ง สารกระตุ้น