JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school Protein JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
โปรตีน(Protein) โปรตีนเป็นสารชีวโมเลกุล(Biomolecules) ซึ่งเป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่ เกิดจากโมเลกุลเล็กๆหลายๆโมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน โมเลกุลเล็กของโปรตีนเรียกว่า กรดอะมิโน(Amino acid) - โปรตีนเป็นสารที่พบมมากที่สุดในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไปในเซลล์พืชและสัตว์มีโปรตีนอยู่มากกว่าร้อยละ50ของน้ำหนักแห้ง - ธาตุองค์ประกอบที่สำคัญคือ C, H, O และ N
กรดอะมิโน(Amino acid)
โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน
โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน
โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน
โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน
โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน
โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน
โปรตีน(Protein) ตัวอย่างกรดอะมิโน
โปรตีน(Protein) กรดอะมิโนเป็นสารที่มีสมบัติเป็นได้ทั้งกรดและเบส ถ้าโมเลกุลอยู่ใน pH ที่เหมาะสมจะแสดงสภาพเป็นทั้งไอออนบวกและไอออนลบในโมเลกุลเดียวกัน เรียกว่า Zwitterion
พันธะเพปไทด์(Peptide bond)
พันธะเพปไทด์(Peptide bond)
พันธะเพปไทด์(Peptide bond)
จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโน Dipeptide 2 Tripeptide 3 Tetrapeptide 4 โมเลกุลเพปไทด์ โมเลกุลเพปไทด์ จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโน Dipeptide 2 Tripeptide 3 Tetrapeptide 4 Polypeptide 5 – 35 Protein คือ Polypeptide ที่มีมวลโมเลกุลมากกว่า 5000
โมเลกุลเพปไทด์
การเขียนลำดับของกรดอะมิโน Tyrosine(Tyr) Histidine(His) Cysteine(Cys) Tyr His Cys Tyr-His-Cys Tyr-Cys-His His-Tyr-Cys His-Cys-Tyr Cys-Tyr-His Cys-His-Tyr
Tyrosine – Histidine – Cysteine Tyrosylhistidylcysteine การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์ ให้เรียกชื่อกรดอะมิโนลำดับแรก...และลำดับถัดมา โดยเปลี่ยนคำลงท้ายจาก -อีน(-ine) เป็น-อิล(-yl) แล้วต่อด้วยชื่อกรดอะมิโนลำดับสุดท้าย..........ดังตัวอย่าง Tyrosine – Histidine – Cysteine Tyr – His – Cys Tyrosylhistidylcysteine
การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์
โครงสร้างของโปรตีน โครงสร้างปฐมภูมิ โครงสร้างทุติยภูมิ (primary structure) โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure) โครงสร้างจตุรภูมิ (quarternary structure) โครงสร้างตติยภูมิ (tertiary structure)
โครงสร้างของโปรตีน
- เป็นโครงสร้างที่แสดงลำดับกรดอะมิโนในสายเพปไทด์หรือในโมเลกุลโปรตีน โครงสร้างปฐมภูมิ - เป็นโครงสร้างที่แสดงลำดับกรดอะมิโนในสายเพปไทด์หรือในโมเลกุลโปรตีน
โครงสร้างทุติยภูมิ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ และเกิดการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O….N-H เกิดโครงสร้างแบบ -helix และ -plated sheet
โครงสร้างทุติยภูมิ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ และเกิดการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O….N-H เกิดโครงสร้างแบบ -helix และ -plated sheet
โครงสร้างตติยภูมิ - เป็นโครงสร้างที่เกลียวแอลฟาและบริเวณที่ไม่ใช่เกลียวแอลฟาม้วนเข้าหากันและไขว้กันโดยมีแรงยึดเหนี่ยวอ่อนๆ
โครงสร้างจตุรภูมิ เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการรวมตัวของหน่วยย่อยชนิดเดียวหรือต่างชนิดกันของโครงสร้างตติยภูมิ อาจจะมีการรวมกันเป็นลักษณะก้อนกลมหรือเป็นมัดคล้ายเส้นใย
ประเภทของโปรตีน โปรตีนเส้นใย(fibrous protein) โปรตีนก้อนกลม(globular protein) (การจัดตัวในโครงสร้าง 3 มิติ)
โปรตีนเส้นใย ประเภทของโปรตีน โปรตีนก้อนกลม เกิดจากสายพอลิเพปไทด์รวมตัวม้วนพับพันกันและอัดแน่นเป็นก้อนกลม ละลายน้ำได้ดี ทำหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ โปรตีนเส้นใย เกิดจากสายพอลิเพปไทด์พันกันในลักษณะเหมือนเส้นใยยาวๆ ละลายน้ำได้น้อย ทำหน้าที่เป็นโปรตีนโครงสร้าง มีความแข็งแรงและยืดหยุ่นสูง
ตัวอย่างโปรตีนเส้นใย Keratin Silk
ตัวอย่างโปรตีนเส้นใย Casein Albumin Enzyme
ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตีน หน้าที่ ตัวอย่าง โปรตีนเร่งปฏิกิริยา เร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต เอ็นไซม์ โปรตีนขนส่ง ขนส่งสารไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ฮีโมโกลบิน โปรตีนโครงสร้าง ให้ความแข็งแรงและช่วยคงรูปร่างโครงสร้างต่าง ๆของร่างการ คอลลาเจน เคราติน โปรตีนสะสม สะสมธาตุต่าง ๆ เฟอริทิน
ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตีน หน้าที่ ตัวอย่าง โปรตีนป้องกัน ป้องกันและกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในเซลล์ แอนติบอดี โปรตีนฮอร์โมน แตกต่างกันตามชนิดของฮอร์โมนนั้นๆ ควบคุมการเจริญเติบโต ควบคุมการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต Growth hormone Insulin
ปัจจัยที่มีผลต่อการแปรสภาพของโปรตีน ความร้อนและรังสีอัลตราไวโอเลต ตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น เอทานอล แอซิโตน ความเป็นกรด หรือเป็นเบส การฉายรังสีเอกซ์(X – ray) การเขย่าหรือเหวี่ยงแรงๆ ทำให้ตกตะกอน
การทดสอบไบยูเรต(Biuret test) การทดสอบไบยูเรต เป็นปฏิกิริยาเฉพาะที่ให้ผลกับสารที่มีพันธะเพปไทด์ตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป ให้สารสีน้ำเงินม่วง ซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนของCu2+ กับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของไนโตรเจนในพันธะเพปไทด์และน้ำ
เอ็นไซม์(Enzyme) เอ็นไซม์ เป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ ชนิดของสารตั้งต้น ความเข้มข้นของสารตั้งต้น ความเข้มข้นของเอนไซม์ ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย อุณหภูมิ สารยับยั้ง สารกระตุ้น