พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
หน้าที่ของผู้บริหาร.
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การจูงใจ (Motivation)
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
การแบ่งส่วนตลาด การกำหนดตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
สื่อประกอบการเรียนการสอน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
The General Systems Theory
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ( Performance Appraisal )
กลุ่มในองค์การ Group in Organization
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
Good Corporate Governance
(Organizational Behaviors)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
บทที่ 3 Planning.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์STP
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
Change Management.
บทที่ 16 ครอบครัว.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ บทที่ 18 พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ

ลักษณะของการซื้อขององค์การ บางส่วนเหมือนผู้ซื้อผู้บริโภคเพราะตัดสินใจโดยบุคคล ความแตกต่างจากการซื้อของผู้บริโภค วัตถุประสงค์ของการซื้อ : เพื่อผลิตสินค้า/ บริการ เพื่อขายต่อ

ผู้ซื้อองค์การและผู้บริโภคขั้นสุดท้าย โครงสร้างและอุปสงค์ : -การรวมกันทางภูมิศาสตร์ -ขนาดใหญ่กว่า & จำนวนน้อยกว่า -อุปสงค์ต่อเนื่อง (Derived Demand) -อุปสงค์ไม่ยืดหยุ่น -อุปสงค์ผกผันมากกว่า

ลักษณะของผู้ซื้อ : -มีความเกี่ยวข้องของกลุ่มมากกว่า -มีความรู้ทางเทคนิคมากกว่า -มีแรงจูงใจที่เป็นเหตุเป็นผล

กระบวนการตัดสินใจและรูปแบบการซื้อ -มีความเป็นทางการมากกว่า -มีความซับซ้อนมากกว่า -การเจรจาต่อรองใช้เวลานานกว่า -มีผู้ขายหลายราย -มีขนาดของคำสั่งซื้อที่ใหญ่กว่า -การซื้อไม่บ่อยครั้ง -มีการซื้อโดยตรงมากกว่า -มีการซื้อต่างตอบแทนมากกว่า -ให้ความสำคัญต่อการบริการ มากกว่า

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ -ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม -ปัจจัยด้านองค์การ -ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล -ปัจจัยด้านบุคคล

ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม -กายภาพ : ภูมิอากาศ, ที่ตั้งภูมิศาสตร์-กระทบต่อพฤติกรรมสมาชิกในองค์การ และกำหนดข้อจำกัดและทางเลือก -เทคโนโลยี : ระดับการพัฒนาเทคโนโลยีกำหนดประเภทสินค้า/ บริการ, เทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อคุณภาพของกระบวนการซื้อ จากการพัฒนาและปรับปรุงเทคโนโลยีการซื้อโดยเครื่องมือที่ซับซ้อน -เศรษฐกิจ : ราคา ค่าแรง เครดิต ความต้องการของผู้บริโภคกระทบต่อการมีสินค้า/ บริการ ความสามารถในการจ่ายเงิน ราคาที่จะจ่าย

ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (ต่อ) -การเมือง : ข้อตกลงทางการค้า ข้อกีดกันทางภาษี การอุดหนุนของรัฐ -กฎหมาย : กฎหมาย ข้อบังคับเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม -จริยธรรม : พนักงานขายต้องแสดงพฤติกรรมอย่างมีจริยธรรม ต้องทราบถึงพฤติกรรมที่ถูกจริยธรรม -วัฒนธรรม : สร้างค่านิยมร่วมของสมาชิก, วัฒนธรรมองค์การ (บรรทัดฐาน, นิสัย, ขนบธรรมเนียม, ประเพณี) กำหนดสินค้า/ บริการ สิ่งของที่องค์การมี

ปัจจัยด้านองค์การ -งาน : ซื้อเพื่อบรรลุเป้าหมาย ตัวอย่างของงาน อาจจัดแบ่งตาม วัตถุประสงค์ ระดับของการใช้จ่าย ประเภทของสินค้า/ บริการที่ซื้อ กระบวนการซื้อ (งานประจำหรือไม่) เป้าหมายขององค์การมีอิทธิพลต่อวัตถุประสงค์และพฤติกรรมการซื้อ

ปัจจัยด้านองค์การ -โครงสร้าง -เป็นทางการ VS ไม่เป็นทางการ -ระดับของการรวมอำนาจ, ความเป็นทางการ, โครงสร้างการซื้อ

ปัจจัยด้านองค์การ (ต่อ) -เทคโนโลยี - บางองค์การอาจใช้เทคนิคการบริหารงานที่ซับซ้อนในกระบวนการซื้อ เช่น โมเดลในการควบคุมสินค้า พยากรณ์ราคา ต้องเข้าใจเทคโนโลยีเหล่านี้ -บุคคล -ระบุถึงบุคคลในองค์การที่มีความรับผิดชอบและอำนาจสำหรับการตัดสินใจซื้อเพื่อชักจูง

ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล -การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล-พยายามสร้างอิทธิพลระหว่างกัน -ศูนย์กลางการซื้อ (buying center) : กลุ่มบุคคลในองค์การที่มีปฏิกิริยาต่อกันและกันในระหว่างกระบวนการตัดสินใจซื้อ -ต้องรู้ว่าใครมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ -บทบาทของศูนย์กลางการซื้อ : ผู้ริเริ่ม ผู้มีอิทธิพล ผู้เชื่อมโยง ผู้ซื้อ ผู้ตัดสินใจ ผู้ควบคุม (ข้อมูล) -ความสัมพันธ์ของอำนาจ : อำนาจที่ควบคุมการตัดสินใจซื้อในองค์การจะมองไม่เห็น, ตำแหน่งไม่ใช่ตัวชี้ถึงอำนาจ

ปัจจัยด้านบุคคล -การจูงใจ : -เกี่ยวกับงาน เช่น คุณภาพสินค้า, ราคา, บริการ, การจัดส่ง - ไม่เกี่ยวกับงาน เช่น ศักยภาพของการเลื่อนขั้น ความมั่นคงในงาน -การรับรู้ : การรับรู้ถึงสินค้าและบุคคลของบริษัทผู้ขาย การรับรู้บทบาทตนเอง -การเรียนรู้ : ความพึงพอใจเป็นสิ่งเสริมแรงให้ตัดสินใจแบบเดิม

การตัดสินใจซื้อขององค์การ ประเภทของสถานการณ์การตัดสินใจ -การซื้อแบบงานใหม่ : ซื้อครั้งแรก สินค้ามีเอกลักษณ์ ต้องสร้างเกณฑ์การประเมิน -การซื้อแบบดัดแปลง : ผู้ซื้อทำการประเมินค่าซ้ำ อาจเปลี่ยนแปลงทางเลือกการซื้อที่มีอยู่ -การซื้อซ้ำแบบตรง : ซื้อเป็นงานประจำ

กระบวนการตัดสินใจของผู้ซื้อองค์การ การตระหนักถึงปัญหา : แตกต่างระหว่างสถานะที่ต้องการและสถานะที่แท้จริงมากพอ การบรรยายถึงความต้องการ : อธิบายลักษณะสิ่งที่ต้องการ การกำหนดรายละเอียดของสินค้า : ระบุชัดเจนว่าต้องการอะไร การค้นหาผู้ขาย : ระบุถึงผู้ขายที่มีคุณสมบัติเหมาะสม การขอข้อเสนอขาย : แจ้งให้ส่งข้อเสนอการประมูล

กระบวนการตัดสินใจของผู้ซื้อองค์การ (ต่อ) การเลือกผู้ขาย : ทำโดยศูนย์กลางการจัดซื้อ สมาชิกคนเดียวหรือหลายคนตัดสิน การซื้อ : ออกคำสั่งซื้อ อาจมีสัญญาระยะยาว การประเมินผลหลังการซื้อ : ประเมินผลการทำงานของผู้ขาย