รูปแบบของการเล่าเรื่อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

สวัสดี เพื่อน วันหนึ่งฉันนั่งคิดเรื่องการเป็นเพื่อน และได้ข้อสรุปที่อยากจะแบ่งปันกับเพื่อนที่รักและอยู่ใกล้ฉัน.....คือเธอ ขอบคุณ.
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g เหตุผลวิบัติ ( fallacies )
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
ข้อคิดสำหรับการไตร่ตรอง "ศีลล้างบาปทำให้ชีวิตฉันเปลี่ยนแปลงไป"
มัทธิว 7 : 7 จงขอเถิด แล้วท่านจะได้รับ จง แสวงหา เถิด แล้วท่านจะพบ
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปผลรวมของการเรียนรู้
ระบบการสื่อสารข้อมูล
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
Object-Oriented Analysis and Design
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
การเขียนรายงานการทดลอง
อาจารย์มณฑิรา พันธุ์อ้น
การเขียนในปัจจุบันมีปัญหา มักพบว่าคนเขียนไม่ใคร่ได้ อาจเป็นเพราะข้อสอบปรนัยคนเลยไม่มีโอกาสได้เขียนกัน การเขียน.
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
ความแตกต่างด้านไวยากรณ์
คำสรรพนาม.
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
การสื่อสารเพื่อการบริการ
Knowledge Management (KM)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
ทำไมคนจึงถือตน หรือยกตน
ทัศนคติในเทพนิยาย.
สวัสดีครับพี่น้อง.
ข้อมูลและสารสนเทศ.
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
คุณอาจเป็นแค่ ...คน คนหนึ่ง ในโลกใบนี้
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
ตัวละคร.
ความหมายของการวิจารณ์
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
การถ่ายวีดีโอ.
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
องค์ประกอบของวรรณคดี
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
พื้นฐานที่สำคัญของการเขียนได้แก่. เข้าใจเรื่องที่จะเขียน หัวข้อหรือประเด็นของเรื่อง เนื้อหาของเรื่อง ข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ จุดมุ่งหมายในการเขียน ขอบเขตของเรื่อง.
ความหมายของการวิจารณ์
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
ประเภทของการวิจารณ์.
ทักษะการอ่าน.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
โดย นายโดม เจริญศิริ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
วิธีเป็นพยาน ดร. ริค กริฟฟิธ, Singapore Bible College
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษ
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบของการเล่าเรื่อง Narrative Mode รูปแบบของการเล่าเรื่อง

หัวข้อที่จะศึกษา Narrative Point of View Narrative Voice Narrative Time

Narrative Point of View มุมมองของการเล่าเรื่อง หมายถึงมุมมองที่เรื่องถูกสื่อสารกับผู้อ่านหรือผู้ชม จำแนกเป็น First Person Narrative Second Person Narrative Third Person Narrative

1st Person Narrative เรื่องจะถูกเล่าโดยผู้เล่าเรื่องซึ่ง มักจะเป็นตัวละครในเรื่อง ด้วย สรรพนามบุรุษที่ 1 เช่น “ผม” “ฉัน” “เรา” ฯลฯ การเล่าเรื่องแบบนี้มักจะใช้ใน การบอกเล่าความคิด ความใน ใจของตัวละคร กับผู้อ่านหรือ ผู้ชมโดยตรง (personal) บางครั้งก็จะเล่าออกมาด้วย มุมมองแบบพระเจ้า (omniscient) โดยตัวละคร ไม่ได้ปรากฏ แต่ประหนึ่งว่า กำลังเป็นผู้ร่วมอยู่ในเหตุการณ์ นั้นๆ ผู้เล่าเรื่องไม่ได้เป็นคนๆ เดียวกับกับผู้ประพันธ์

2nd Person Narrative ไม่ค่อยจะได้พบเห็นมากนักใน เรื่องสั้นหรือภาพยนตร์ แต่ มักจะพบในบทเพลงและบทกวี ผู้เล่าเรื่องใช้สรรพนามเรียก ผู้อ่านว่า “คุณ” “เธอ” หรือ “นาย” ซึ่งก็เท่ากับเป็นการทำ ให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังกลายเป็นตัว ละครตัวหนึ่งในเรื่อง เป็นความพยายามในการทำ ให้เกิดการเทียบเคียงทาง ความคิด ความรู้สึกของผู้อ่าน กับตัวเรื่อง

3rd Person Narrative พบเห็นได้บ่อยที่สุด เล่าเรื่องของตัวละครตัวอื่นใน เรื่องด้วยสรรพนาม “เขา” “เธอ” “หล่อน” หรือด้วยชื่อของตัว ละครนั้นๆ ผู้เล่าเรื่องไม่ได้เป็นตัวละครตัว ใดตัวหนึ่งในเรื่อง หรือมีส่วน เกี่ยวข้องกับเรื่อง อาจจำแนกมุมมองได้เป็น subjective/objective omniscient/limited

Alternating Person เรื่องเล่าที่มีการเปลี่ยมุมมอง ของผู้เล่าเรื่องสลับไปสลับมา ระหว่าง ตัวละครในเรื่อง Rashomon The Home and The World 1st, 2nd & 3rd Person Personal & Omniscient Harry Potter

Narrative Voice เสียงของผู้เล่าเรื่อง หมายถึงวิธีการที่เรื่องถูกเล่าสู่ผู้อ่านหรือผู้ชม อาทิ ความคิดของตัวละคร, การสนทนา, การเขียนจดหมาย, การเล่าเรื่องให้ผู้อื่นฟัง จำแนกได้เป็น Stream of Consciousness คือ การเล่าเรื่องด้วยกระแสสำนึก เป็น การถ่ายทอดความคิดและความรู้สึกของผู้เล่าสู่ผู้อ่านโดยที่ตัวละคร อื่นไม่รู้ เรื่องราวอาจไม่สมบูรณ์หรือกระท่อนกระแท่นตามลักษณะ ความคิดของมนุษย์ Character Voice คือการเล่าเรื่องผ่านเสียงของตัวละครที่เป็นตัว ละครหนึ่งในเรื่องด้วยมุมมองแบบบุรุษที่ 1 หรือ บุรุษที่ 3 Epistolary Voice คือการเล่าเรื่องผ่านการโต้ตอบด้วยจดหมายที่ เมื่อนำมาปะติดปะต่อกันก็จะทำให้เราเข้าในในโครงเรื่องได้ Third Person Voice คือการเล่าเรื่องผ่านเสียงของผู้บรรยายที่ ไม่ได้เป็นตัวละครในเรื่อง

Narrative Time เวลาในการเล่าเรื่อง Past Tense คือการเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นในอดีต ด้วย ไวยากรณ์ที่ระบุเวลาว่าเป็นเหตุการณ์ที่ผ่านมาแล้ว Present Tense คือการเล่าเรื่องของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน Future Tense คือการเล่าเรื่องของเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต ด้วยไวยากรณ์อย่าง “จะ” และ “will” ไม่ค่อยได้ พบเห็นมากนักเพราะแม้กระทั่งนวนิยายวิทยาศาสตร์ก็มักจะ สร้างเรื่องว่าเป็นเหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน