ไม่มีช่องทางเข้าออกประเทศเป้าหมาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

เครื่องรับโทรทัศน์ระบบดิจิตอลทีวี
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
ของการบริหารความเสี่ยง
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ผลงานด่านอาหารและยา ภาคเหนือ
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
งานสุขภาพจิต.
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
สรุปผลการดำเนินงานโครงการ “ยิ้มสดใส เด็กไทยฟันดี"
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
ร้อยละ 50 มค. – 31 กค. 54 ช่วง ต่อเนื่อ ง (4,5 00) ร้อยละ 50 (4,5 00) เฉลี่ยจังหวัดละ ราย รายสุดท้าย แล้วเสร็จ 31 กค. 54 เป้าหมายบริการราก ฟันเทียม.
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ
โดย นพ.อุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล
อนาคตระบบบริการสุขภาพ
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ในเขต 7 ที่ผ่านเกณฑ์ สรุป : อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ในภาพเขต 7 ผ่านเกณฑ์ร้อยละสะสม กระบวนการ มีส่วนร่วมในเขตชัดเจนมากที่สุด มีการกำกับติดตามที่ชัดเจนมากส่งผลให้ขอเป็น.
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ข้อมูล ณ 7 พ.ค. 56 เวลา กิจกรรม ผู้เกี่ยวข้อง Output/Outcome
  โครงการฟันเทียมพระราชทาน และรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯ เขตบริการสุขภาพที่ 12 โดย นพ.อินทร์ จันแดง.
แนวทางการดำเนินงาน วัยเรียน กรมสุขภาพจิต
สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยเขต 12
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แผนการตรวจราชการและนิเทศงานยาเสพติด
ขั้นตอนการประเมินสมรรถนะและการวางแผนพัฒนารายบุคคล
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ตามข้อกำหนดกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548

ไม่มีช่องทางเข้าออกประเทศเป้าหมาย เป้าหมายรายเขตสุขภาพ เขตสุขภาพ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ พรมแดน รวม กรุงเทพ (สรต.) 1 - 2 เขตสุขภาพที่ 1 (สคร.10,สสจ.เชียงราย) 1(1) 3(1) 6 เขตสุขภาพที่ 2 (สคร.9) 3 5 เขตสุขภาพที่ 3 ไม่มีช่องทางเข้าออกประเทศเป้าหมาย เขตสุขภาพที่ 4 เขตสุขภาพที่ 5 (สคร.4) เขตสุขภาพที่ 6 (สรต.,สคร.3) 4 11 เขตสุขภาพที่ 7 เขตสุขภาพที่ 8 (สคร.6,สคร.7) 7 8 เขตสุขภาพที่ 9 (สคร.5) เขตสุขภาพที่ 10 (สคร.7) เขตสุขภาพที่ 11 (สคร.11, สสจ.สุราษฎร์ธานี) 4(1) 6(1) 10 เขตสุขภาพที่ 12 (สคร.12, สสจ.สตูล ตรัง นราธิวาส ปัตตานี) 4(3) 8(2) 14 รวม (แห่ง) 17 18 32 67 หมายเหตุ:ตัวเลขใน () หมายถึง ด่านฯ สังกัดสสจ.

เป้าหมายการดำเนินงาน 5 ปี หน่วยงาน กิจกรรม ค่าเป้าหมาย 57 58 59 60 61 ร้อยละของช่องทางเข้าออกประเทศ ที่มีกระบวนการพัฒนาสมรรถนะได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวนด่านต้นแบบที่มีการดำเนินงานตาม IHR2005 ได้ถูกต้อง ครบถ้วน 2557 = 51 แห่ง 2558 = 58 แห่ง คู่มือในการวัด - WHO-CCAT (%50-80) ระดับสมรรถนะหลักด้านต่างๆ ของเกณฑ์การประเมิน IHR Core Capacity Monitoring Framework 4 ขั้น คือ <1 Fundamental 1 Inputs and processes 2 Outputs and outcomes 3 Additional achievement สรต. พัฒนา/เพิ่มขีดความสามารถ จนท. /เครือข่าย (อบรม/ประชุม/สัมมนา) สนับสนุนการดำเนินงาน ภารกิจพื้นฐาน (เฝ้าระวังโรค/สุขาภิบาลยานพาหนะ/สวล. ) ติดตามและประเมินผล ผ่านเกณฑ์50% ผ่านเกณฑ์70% ด่านฯต้น แบบ 3 แห่ง ผ่านเกณฑ์80% ด่านฯต้นแบบ 6 แห่ง ผ่านเกณฑ์90% แบบ ทุกเขตบริการสุขภาพ ผ่านเกณฑ์100% - สคร. (3-7, 9-12) (สสจ. เชียงราย, สุราษฎร์ธานี, ตรัง, สตูล, ปัตตานี,นราธิวาส) ภารกิจพื้นฐาน (เฝ้าระวังโรค/สุขาภิบาลยานพาหนะ/สวล.)

แผนการดำเนินงาน ประจำปี 2558 โครงการ : พัฒนาสมรรถนะด่านช่องทางเข้าออกประเทศและจังหวัดชายแดน เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าหมายการพัฒนา: ช่องทางเข้าออกประเทศทั่วประเทศ ได้รับการพัฒนา สมรรถนะหลักตามข้อกำหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (67 แห่ง) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของช่องทางเข้าออกประเทศที่มีกระบวนการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางฯ ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ค่าเป้าหมาย : ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ กรมควบคุมโรค 58 แห่ง

มาตรการ/กิจกรรมหลักที่สำคัญ (ระดับ สคร.) มาตรการที่ 1 พัฒนาสมรรถนะหลักตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 มาตรการที่ 2 พัฒนา คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงานมาตรฐานการปฏิบัติงาน ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อระหว่างประเทศ มาตรการที่ 3 ติดตามกำกับ และประเมินผลการพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ มาตรการที่ 4 การสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อระหว่างประเทศ เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

หน่วยงานที่ร่วมดำเนินงาน พัฒนาสมรรถนะหลัก ช่องทางเข้าออกประเทศ หน่วยงานที่ร่วมดำเนินงาน พัฒนาสมรรถนะหลัก ช่องทางเข้าออกประเทศ (Point of Entry ; POE) หน่วยงานภายในกระทรวง กรมควบคุมโรค สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3-7,9-12 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข . สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย, สุราษฎร์ธานี, สตูล, ตรัง, ปัตตานี, นราธิวาส คณะทำงานพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ หน่วยงานที่อยู่ในสังกัด กระทรวงคมนาคม กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสหกรรม เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นกับบริบทของแต่ละช่องทางฯ

กระบวนการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางฯ(1) ส่วนกลางชี้แจงแนวทางการประเมินและเกณฑ์การประเมินให้แก่ทีมประเมิน ของ สคร. สคร. จัดประชุมชี้แจงเกณฑ์การประเมินและแนวทางการจัดทำแผนพัฒนา ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ช่องทางฯ ประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศด้วย ตนเอง (Self assessment) และส่งผลการประเมินให้หน่วยงานต้นสังกัด ช่องทางฯ จัดทำแผนพัฒนาช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ ที่สอดคล้องกับ ผลการประเมินตนเอง (Self assessment)

ขั้นตอนการดำเนินงาน (2) กระบวนการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางฯ(2) ขั้นตอนการดำเนินงาน (2) สคร. ดำเนินการพัฒนาช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ และสนับสนุน การปฏิบัติงานของช่องทางตามแผนฯ สคร. ติดตามและประเมินการพัฒนาสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ที่รับผิดชอบ (Internal audit) โดยใช้คู่มือการประเมินฯ รายงานผลการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงงานเสนอ ผู้บริหาร จัดทำร่างแผนพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศ ปีพ.ศ. 2559 ที่สอดคล้องกับ ผลการประเมินฯ (Internal audit)

การติดตามและประเมิน คู่มือการประเมินสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศที่ประยุกต์จาก คู่มือการประเมินขององค์การอนามัยโลก (CCAT: Core Capacities Assessment Tools)