การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศึกษา
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
น้ำหนักแสงเงา.
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
เทคนิคการถ่ายภาพ คณะกรรมการจัดการความรู้ กองกิจการนักศึกษา.
รายวิชา การเขียนเว็บไซต์
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การสร้างงานกราฟิก.
การเขียนเครื่องเรือนลอยตัว
สื่อและสิ่งอำนวยความสะดวกในการฝึกอบรม
บทที่ 5 การแทรกรูปภาพ และอักษรประดิษฐ์
ทีมงานผลิตรายการโทรทัศน์ The Television Team
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทนำ บทที่ 1.
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ความรู้เกี่ยวกับจอ LCD ของ Notebook และเทคนิคการ เลือกซื้อ.
การนำเสนอข้อมูล หน่วยที่ 1.
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การจัดองค์ประกอบภาพ.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ซอฟต์แวร์.
ฉากและบรรยากาศ.
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
New Zealand House & Garden July 2009 “ บ้านและสวนสวยหลากสไตล์ ”
บทที่8 การเขียน Storyboard.
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ศัพท์เทคนิค...ในศิลปะการละคร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง

ศิลปะการสร้างภาพให้ปรากฏบนเวที (picturization) และการออกแบบเพื่อการแสดง (theatre design) คือ การจัดวางการเคลื่อนไหว รวมถึงการใช้พื้นที่บนเวทีของนักแสดง และการออกแบบฉาก แสง สี เครื่องแต่งกาย และแต่งหน้า เพื่อเป็นส่วนประกอบสำคัญในการนำเสนอละคร อันจะทำให้ละครมีความสมบูรณ์ สวยงาม อีกทั้งยังสื่อความหมายและอารมณ์ของการแสดงเพิ่มขึ้น

หลักในการสร้างภาพบนเวที และการออกแบบเพื่อการแสดง อ่านตีความบทละครอย่างละเอียดเพื่อทำความเข้าใจสาระสำคัญของเรื่อง วิเคราะห์และตัดสินใจว่าจะเลือกแนวการนำเสนอของละคร (style) แนวใด

หลักในการสร้างภาพบนเวที และการออกแบบเพื่อการแสดง 3. หารือกับฝ่ายออกแบบต่างๆ เพื่อออกแบบ โดยควรคำนึงถึง 3.1 สามารถใช้งานได้จริง 3.2 เหมาะสมและสื่อสารความหมายของเรื่อง 3.3 มีความสวยงาม 3.4 มีความเป็นเอกภาพ และเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งหมด

แนวการนำเสนอละคร 1. Representation form 2. Presentational form 3. Mix form

รูปแบบของเวที Proscenium theatre หรือ Proscenium – arch theatre หรือ Picture – frame stage หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Peephole theatre คือ โรงละครแบบที่มียกพื้นที่เวทีการแสดงอยู่ภายในกรอบรูปสี่เหลี่ยมหรือรูปโค้งซึ่งอาจจะมีการตกแต่งอย่างสวยงามหรืออาจทำแบบเรียบง่าย เพื่อให้ได้ประสิทธิผลสำหรับการแสดงทุกประเภทเป็นสำคัญ Proscenium stage จะแบ่งพื้นที่ในการแสดงออกจากพื้นที่ของผู้ชมโดยสิ้นเชิง ผู้ชมอยู่ห่างจากเหตุการณ์และนั่งชมภาพที่ปรากฏแก่สายตาบนเวทีนั้นผ่านกรอบ ที่เรียกว่า Framed opening

รูปแบบของเวที The Open Theater หมายถึง โรงละครที่มีเวทีแบบเปิด คือ ไม่มีกรอบโพรซีเนียม เน้นความใกล้ชิดระหว่างนักแสดงกับผู้ชม 2.1 Thrust stage หรือ Thrust – stage theatre คือ โรงละครแบบที่มีเวทีส่วนหน้ายื่นเข้าไปหาผู้ชม ที่นั่งคนดูจะล้อมรอบเวที 3 ด้าน หรือนั่งในลักษณะครึ่งวงกลมล้อมรอบเวทีที่ยื่นเข้าไปในส่วนของผู้ชม 2.2 Arena theatre หรือ Arena stage หรือ Theatre – in – the – round หรือ Circus theatre หรือ Circle theatre คือ โรงละครแบบ Open stage ที่มีที่นั่งคนดู (Audience seats) อยู่รอบเวทีสำหรับการแสดงทั้ง 4 ด้าน หรือทุกด้าน

รูปแบบของเวที 3. The Combination theatre คือ โรงละครแบบผสมระหว่าง proscenium theatre กับ Thrust theatre Experimental theatre หรือ Theatre rooms หรือ Black box theatre หรือ “Flexible” theatre หมายถึง โรงละครแบบที่ผู้ออกแบบสามารถจัดที่นั่งของผู้ชมได้ตามต้องการหรือคล้อยตามบทละครประเภทต่าง ๆ โรงละครแบบนี้มักเป็นห้องว่างเปล่ารูปสี่เหลี่ยมหรือสามเหลี่ยม ทาผนังเป็นสีดำหรือติดผ่าม่านดำโดยรอบ ไม่มีเครื่องช่วยอำนวยความสะดวกใด ๆ ที่นั่งผู้ชมซึ่งเป็นเก้าอี้นั่งแบบที่สามารถซ้อนกันเพื่อใช้เนื้อที่ในการเก็บน้อยที่สุด สามารถจัดที่นั่งเป็นแบบ Proscenium, thrust หรือ arena หรือรูปทรงอื่น ๆ