การรายงาน ความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ห้องประชุมประชาสังคมอุดมพัฒน์ ชั้น ๑ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิิทยาลัยมหิดล
รายละเอียดของการนำเสนอ (๑) การวิเคราะห์และประเมินผลตามเกณฑ์ของ EdPEx (GAP Analysis) (๒) ผลการทำงานภายใต้กระบวนการของ EdPEx (GAP Closed-Output) (๓) รายละเอียดการทำงานในประเด็นที่มีการพัฒนา (GAP Closed) (๔) แผนการทำงานเพื่อเตรียมรับการประเมิน (Road Map)
รายละเอียดของการนำเสนอ (1) GAP Analysis + (2) GAP Closed -Output การวิเคราะห์และประเมินผลตามเกณฑ์ของ EdPEx ผลการทำงานภายใต้กระบวนการของ EdPEx
การประเมินผลการดำเนินการตามเกณฑ์การพิจารณา EdPEx สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล เดิมมี GAPสูง โครงร่างองค์กร เดิมมี GAP ปานกลาง 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ 2.2 การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฎิบัติ 5.1 สภาพแวดล้อม 5.2 ความผูกพัน GAP ลดลงในระดับสูง การมุ่งเน้น ผู้ปฎิบัติงาน คณะกรรมการตามพันธกิจและ คกกพัฒนาและขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ วางแผน เชิงกลยุทธ์ GAP ลดลงในระดับปานกลาง อยู๋ในช่วงการดำเนินการ ผล ลัพธ์ GAP ลดลงและเกิดผลดี 1.1 การนำองค์การ 1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม การนำองค์กร การมุ่งเน้น ลูกค้า การจัด กระบวนการ 7.1 การเรียนรู้ของผู้เรียน ด้านกระบวนการ 7.2 การมุ่งเน้นลูกค้า 7.3 การมุ่งเน้นบุคลากร 7.4 การนำองค์กร ธรรมาภิบาล 3.1 เสียงของลูกค้า 3.2 ความผูกพันของลูกค้า 6.1 กระบวนการทำงาน 6.2ประสิทธิผล การวัด วิเคราะห์ จัดการความรู้ 4.1 การวัด วิเคราะห์ ปรับปรุง 4.2 จัดการความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายละเอียดของการนำเสนอ (3) GAP Closed Details รายละเอียดของกระบวนการขับเคลื่อนการทำงานของสถาบัน หมวด 1 + หมวด 2 + หมวด 3 + หมวด 4 + หมวด 5
“นักจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาตัวเอง องค์กร ชุมชน และสังคม” 1 การพัฒนา ยุทธศาสตร์์ และ แผนกลยุทธ์ บนพื้นฐานองค์กร โจทย์ของสังคม โดยกระบวนการมีส่วนร่วม การกำกับติดตาม ผ่านกลไกคณะกรรมการตามพันธกิจ 2 1.1 การจัดการความรู้ในสถาบัน 1.2 การประเมินทิศทางแนวโน้มของสังคม กฎหมาย นโยบาย 1.3 การรับฟังข้อเสนอแนะจากกรรมการนโยบาย 2.1 กรรมการประจำสถาบัน 2.2 กรรมการตามพันธกิจ กรรมการวิจัย กรรมการวิชาการ กรรมการบริการวิชาการ คณะทำงานขับเคลื่อน กรรมการพัฒนาและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การประเมินผล และ พัฒนาคุณภาพ 3 1.4 การรับฟังข้อเสนอแนะจากเครือข่ายภาคี และ ผู้ใช้ประโยชน์ 1.5 การจัดประชุมเชิงปฎิบัติการยกร่างแผนปฎิบัติการ 1.6 การพิจารณาอนุมัติโดยกรรมการประจำสถาบัน การนำองค์กร 3.1 การบริหารจัดการความเสี่ยง 3.2 การประเมินผลภายใน 3.3 การประเมินผลจากภายนอก “สถาบันสหวิทยาการชั้นนำระดับอาเซียนด้านพัฒนาเด็กเยาวชน และครอบครัว ภายในปี 2561” “นักจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาตัวเอง องค์กร ชุมชน และสังคม” ใช้แผนยุทธศาสตร์ของสถาบันระยะ 4 ปีเป็นหลักในการขับเคลื่อนองค์กร 5.1 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ 5.2 การสร้างชุมชนนักปฎิบัติเพื่อสร้างนวัตกรรม 5.3 การพัฒนาต่อยอดคุณค่าของผลลัพธ์ 4.1 การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพของงาน ศักยภาพของบุคลากร และ ชุมชนนักปฎิบัติ 4.2 แผนพัฒนาคุณภาพงานจากข้อมูลความเสี่ยง 4.3 การพัฒนาศักยภาพของทีมบริหาร 4.4* การพัฒนาระบบกองทุน สวัสดิการ ที่ผ่านกระบวนการจัดการความรู้ของสถาบัน กระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมของเครือข่ายและผู้ใช้ประโยชน์ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน ที่เน้น การพัฒนาคนทำงานและการพัฒนาระบบ ของการทำงาน พัฒนางาน = ความรู้ + ความต่อเนื่อง + เครือข่าย + การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างความยั่งยืน ด้วยการสร้างความรู้ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ภายใต้ค่านิยม การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลง และความยั่งยืน 5 พัฒนาคนทำงาน = แรงบันดาลใจ + ความรู้ + โจทย์ท้าทาย + พื้นที่ โอกาส + เครือข่าย มวลมิตร ถ่ายทอดแนวคิดในการทำงานแบบ D&R และสื่อสารข้อมูลผ่านช่องทางที่หลากหลาย 4
รายละเอียดของการนำเสนอ การดำเนินการด้านการรับฟังเสียงลูกค้า
ระบบการทำงานของรับฟังเสียงลูกค้าเพื่อการพัฒนาคุณภาพ 4 1 2 6 3 5 ระดับสถาบัน การประชุม การสัมภาษณ์ กลุ่มย่อย ระดับพันธกิจ จัดการ ข้อร้องเรียน ระดับยุทธศาสตร์ แบบสอบถาม แบบสอบถามออนไลน์ ประมวลผล แผนพัฒนาคุณภาพ จัดการความรู้ ระดับงาน สายตรง ระดับโครงการ พัฒนาคุณภาพ เครือข่ายสังคมออมไลน์ ฐานข้อมูล
รายละเอียดของการนำเสนอ (4) Road Map แผนการทำงาน 4 ระยะ เพื่อเตรียมรับการประเมิน