โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ประเด็นการตรวจติดตาม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านหมี่ ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
3 September องค์กร เกษตรกร การผลิต ปัจจัยพื้นฐา น - ดิน - น้ำ - แรงงาน ปัจจัยการผลิต - พันธุ์ - เทคโนโลยี การใส่ปุ๋ย การป้องกันโรค.
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
สำนักงานเกษตรจังหวัด
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
การส่งเสริมลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
1. สัมมนาวางแผนปฏิบัติงานโครงการ และชี้แจงระเบียบการเงิน การบัญชี ตามระเบียบเงินรายได้ จากการรับจ้างผลิต และ จำหน่ายปัจจัยการเกษตรของศูนย์ ปฏิบัติการ.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ 1.เกษตรกรไม่มีการทำแปลงพันธุ์โดยเฉพาะ 2.ผู้ผลิตพันธุ์ขายไม่มีการดูแลการปะปนของโรคและแมลง 3.ไม่มีมาตรฐานการผลิตและรับรองพันธุ์มันสำปะหลัง 4.ไม่มีข้อมูลผู้ผลิตพันธุ์จำหน่ายเป็นการค้า - ผลผลิตต่ำ - แพร่การระบาดของโรคและแมลง โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ ประชาคมอาเซียน (มันสำปะหลัง) วัตถุประสงค์ 1.จัดตั้งกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตมันสำปะหลังพันธุ์ดีมีคุณภาพ 2.ถ่ายทอดความรู้แนวทางการผลิตมันสำปะหลังพันธุ์ดี มีคุณภาพ 3.เพื่อหาแนวทางการจัดทำมาตรฐานการรองรับพันธุ์มันสำปะหลังพันธุ์ดี อบรมเจ้าหน้าที่ ที่รับผิดชอบ จัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตพันธุ์ดีมีคุณภาพ จัดทำทะเบียนผู้ผลิตพันธุ์เป็นการค้า จัดทำมาตรฐานต้นพันธุ์ ศึกษาวิจัยรูปแบบการผลิตพันธุ์ Out put 1.เจ้าหน้าที่ 50 รายได้รับการถ่ายทอดความรู้ 2.แปลงพันธุ์มันสำปะหลังพันธุ์ดี 40 กลุ่ม 800 ราย 1,600 ไร่ 3.ร่างมาตรฐานต้นพันธุ์และการรับรองพันธุ์ของประเทศ 4.มีทะเบียนเกษตรกรผู้ผลิตพันธุ์มันสำปะหลัง Out come 1.มีแหล่งพันธุ์ดีมีมาตรฐานใน 40 กลุ่ม 22 จังหวัด 2.พันธุ์ดีมีคุณภาพกระจายไปในพื้นที่ 3,200 ไร่ 3.ข้อมูลผู้ผลิต/แหล่งพันธุ์ดีเพื่อการพัฒนาในปีต่อไป

จุดเน้น/ประเด็นเน้นหนัก ดำเนินการ 1 ศจช. ดำเนินการ 3 ศจช. ดำเนินการ 9 ศจช. จุดเน้น/ประเด็นเน้นหนัก ดำเนินการใน ศจช มันสำปะหลังดีเด่น เป็นกลุ่มที่มีความเข้มแข็ง สำรวจความต้องการพันธุ์ดีของเกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการและหาแหล่งพันธุ์ที่เชื่อถือได้ เกษตรกรต้องเอาใจใส่ดูแลแปลงและดำเนินการ ตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด คืนพันธุ์ 2 ส่วนเพื่อกระจายพันธุ์ไปสู่เกษตรกรรายอื่น

การสร้างกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตพันธุ์ คัดเลือก ศจช ที่เข้มแข็ง คัดเลือกเกษตรกรผู้นำที่มีความสนใจ ใส่ใจเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกลุ่มละ 20 ราย จัดทำแปลงพันธุ์รายละ 2 ไร่ รวมกลุ่มละ 40 ไร่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี 5 ครั้ง เรื่อง พันธุ์ การจัดการพันธุ์ การดูแลรักษา ศัตรูพืช และการจัดทำแปลงพันธุ์ งบประมาณ รวมกลุ่มละ 130,000 บาท รายละเอียด แปลงพันธุ์ไร่ละ 3,000 บาท เป็นค่าท่อนพันธุ์ ปุ๋ย สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์ ถ่ายทอดเทคโนโลยี 5 ครั้ง รายละ 100 บาท/ครั้ง

จุดเน้น เลือกพันธุ์ตามความต้องการของเกษตรกร “พันธุ์ดีมีคุณภาพ” ให้ความเข้าใจกับเกษตรกรถึงความสำคัญในการเตรียมพันธุ์ดี ให้ความรู้เรื่องพันธุ์ส่งเสริม ถ่ายทอดวิชาการ 5 ครั้ง เน้นเรื่องพันธุ์และการจัดการกิ่งพันธุ์ก่อน แล้วจึงเพิ่มเติมเรื่องอื่น ๆ เกษตรกรต้องคืนพันธุ์อย่างน้อย 2 เท่าของที่รับมา เพื่อขยายแก่เพื่อนบ้าน เตรียมรายชื่อเกษตรกรที่จะรับพันธุ์ในปีต่อไป จัดทำรายงานตามแบบ ในภาคผนวก 3 ส่งภายใน 15 พค 58 ทางเมล์ ที่ toyapc@hotmail.com